Page 22 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 22
บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 11
ความเสียหายอย่างมหาศาลต่อการประมง การเกษตร การสาธารณสุข ประการส าคัญคือ ท าให้ระบบนิเวศ
ธรรมชาติถูกท าลาย หรือเสื่อมคุณภาพจนไม่เหมาะที่สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่ได้ ท าให้เกิดการตายของสัตว์และ
ื
พชน้ าเป็นจ านวนมาก ท าให้แหล่งน้ าเกิดการเน่าและขาดออกซิเจนที่ละลายน้ า แหล่งน้ าที่มีสารพษพวก
ิ
ื
ยาฆ่าแมลง และยาปราบศัตรูพชสะสมอยู่มาก รวมทั้งแหล่งน้ าที่มีคราบน้ ามันปกคลุม และโรงงาน
อุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ปล่อยสารพิษ และความร้อนลงสู่แหล่งน้ า หากน้ าดื่มน้ าใช้มีสารพิษ และเชื้อจุลินทรีย์
ที่เป็นเชื้อโรคปะปนจะก่อให้เกิดโรคนานาชนิดกับมนุษย์และสัตว์น้ าที่เสื่อมคุณภาพ หากน ามาผ่าน
ิ
กระบวนการก าจัดของเสียออกเพอให้ได้น้ าดื่มน้ าใช้ที่สะอาดปราศจากเชื้อโรค และสารพษจะเป็นเหตุให้
ื่
เกิดการสิ้นเปลืองทรัพยากรสิ้นเปลืองเงินในการจัดการเพอผลิตน้ าที่ได้คุณภาพเป็นจ านวนที่สูงมาก
ื่
เนื่องจากมลพษทางน้ าก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมนานาประการขึ้นกับระบบนิเวศธรรมชาติ แหล่ง
ิ
เกษตรกรรม แหล่งประมง และแหล่งชุมชน ดังนั้นจึงควรหาแนวทางป้องกันการเน่าเสียของน้ าเพอจะได้
ื่
ไม่ต้องเสียเวลา และงบประมาณในการแก้ไขน้ าเน่าให้กลับมาเป็นน้ าที่ดีมคุณภาพ
ี
ผลกระทบของน้ าเสียมีดังต่อไปนี้ คือ น้ าจะมีสีและกลิ่นที่น่ารังเกียจ น้ าเป็นอนตรายต่อสิ่งมีชีวิต
ั
ในน้ าเกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เป็นแหล่งของเชื้อโรคต่าง ๆ สู่มนุษย์ สัตว์ และพืช อีกทั้งยังเป็นอันตรายต่อ
ิ
สุขภาพ รวมทั้งมลพษทางน้ าจะส่งผลให้มีการท าลายทัศนียภาพในเรื่องสิ่งแวดล้อม และการท่องเที่ยวด้วย
ิ
สิ่งที่น่าวิตกคือ แหล่งน้ าที่ใหญ่ที่สุดคือมหาสมุทรและทะเล ที่ปัจจุบันได้กลายเป็นแหล่งสะสมสารมลพษ
ทางน้ าเกือบทุกชนิดหากเกิดการสะสมมากขึ้น จะท าให้มนุษย์จะได้รับผลกระทบที่เป็นอนตรายทั้งทางตรง
ั
และทางอ้อม ที่จะเกิดขึ้นในปัจจุบันและในอนาคต วิธีในการป้องกันไม่ให้เกิดมลพิษทางน้ ามีหลายวิธี โดยที่
เราสามารถมีส่วนร่วมในการรักษาสภาพที่ดีของแหล่งน้ าได้ ดังนี้
1. ไม่ทิ้งของเสียลงสู่แหล่งน้ า และทางระบายน้ าสาธารณะ
2. บ าบัดน้ าเสียขั้นต้นก่อนระบายลงแหล่งน้ า หรือท่อระบายน้ า
3. ช่วยกันลดปริมาณการใช้น้ า และลดปริมาณขยะในบ้านเรือน
ื
4. ลดหรือหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี ปุ๋ย สารก าจัดศัตรูพชในกิจกรรมทางการเกษตร หรือสารเคมี
ที่ใช้ในบ้านเรือน
5. ควรน าน้ าเสียกลับมาใช้ประโยชน์
6. ส ารวจเพื่อลดปริมาณน้ าเสียของแต่ละขั้นตอนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
7. สร้างจิตส านึกของประชาชนในตระหนักถึงความส าคัญของการรักษาคุณภาพแหล่งน้ า และ
ประหยัดการใช้น้ าเท่าที่จ าเป็น
1.1.5 ปัญหาการตัดไมท าลายป่า (Deforestation)
้
การท าลายป่า และการเสื่อมสภาพของป่า เป็นทั้งสาเหตุและผลกระทบของภาวะโลกร้อน ต้นไม้
ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และใช้มันเพอเจริญเติบโต แต่เมื่อต้นไม้เหี่ยวตายไป หรือถูกเผา
ื่
คาร์บอนไดออกไซด์ก็ถูกปล่อยออกมาอกครั้ง นอกจากนี้ต้นไม้ที่ก าลังย่อยสลายยังผลิตก๊าซมีเทน ซึ่งเป็น
ี
ก๊าซเรือนกระจกที่มีผลกระทบรุนแรงกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยเหตุนี้ การท าลายป่า และการเสื่อมสภาพ
ของป่า จึงท าให้เกิดความเสียหายเพมขึ้นเป็น 2 เท่า เพราะก๊าซเรือนกระจกชนิดต่าง ๆ ถูกปล่อยออกมา
ิ่
(เช่น จากไฟป่า หรือการใช้ต้นไม้ที่ถูกตัดเป็นฟน) พร้อม ๆ กับที่จ านวนต้นไม้ที่เป็นตัวดูดซับ
ื
คาร์บอนไดออกไซด์ได้ลดลง คาร์บอนไดออกไซด์ 30% ที่เพมขึ้นในบรรยากาศใน 150 ปีที่ผ่านมา คาดว่า
ิ่
มาจากการท าลายป่า แต่นี่ยังเป็นปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับคาร์บอนไดออกไซด์ที่ยังถูกกักเก็บไว้ในป่า
ป่าสนแถบหนาวในแคนาดาและรัสเซียเพียง 2 ประเทศเป็นตัวกักเก็บก๊าซคาร์บอนถึง 40% ของโลก