Page 25 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 25

บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน     14





                                                                                               ื้
                                                                                                  ู
                     มาจัดการใช้ประโยชน์จะต้องไม่เกินศักยภาพที่ระบบนิเวศนั้นจะท าให้งอกงาม และฟนฟขึ้นมาใหม่ได้
                     ไม่เกินขอบขีดความสามารถที่ระบบนิเวศจะรองรับได้ จะต้องไม่เกินขีดสมดุลของธรรมชาติ
                             แนวคิดประการที่สาม เกี่ยวกับความยุติธรรมในสังคมเพราะการพัฒนาโดยทั่วไปเป็นการปรับปรุง

                                                                                       ั
                     เปลี่ยนให้สภาพเศรษฐกิจสภาพสังคมดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น แนวทางการพฒนาแบบยั่งยืนมีหลักการ
                     ใช้ประโยชน์ทรัพยากรในปริมาณเท่าที่ฟนฟเกิดใหม่ได้ ความยั่งยืนนั้นไม่อาจมั่นคงอยู่ได้หากปราศจาก
                                                          ู
                                                       ื้
                                                                             ิ
                     นโยบายการพฒนาที่ค านึงถึงปัจจัยทางสังคม – วัฒนธรรมเข้ามาพจารณาด้วย อาทิ โอกาสของการเข้าถึง
                                 ั
                     และได้ใช้ทรัพยากรอย่างเท่าเทียมกัน การกระจายการลงทุน และผลประโยชน์ตอบแทนที่เกิดขึ้นจาก
                     การพฒนาอย่างเหมาะสม การพฒนาแบบยั่งยืนจึงต้องค านึงถึงหลักความยุติธรรมระหว่างชนรุ่นปัจจุบัน
                                                 ั
                          ั
                     กับชนรุ่นต่อ ๆ ไป (Intergenerational Equity) และหลักการความยุติธรรมระหว่างชนรุ่นเดียวกัน
                     (Intergenerational Equity) ตามหลักการความยุติธรรมระหว่างชนรุ่นปัจจุบันกับชนรุ่นต่อไป ชนรุ่น
                     ปัจจุบันมีภาระหน้าที่ความรับผิดชอบต่อคนรุ่นต่อไป ในการที่จะต้องมอบมรดกทางธรรมชาติและ

                     สิ่งแวดล้อมในปริมาณและคุณภาพที่ไม่ด้อยไปกว่ายุคปัจจุบัน การท าลายความสุขสมบูรณ์ของชนรุ่นหลัง
                     นับว่าเป็นสิ่งที่ไม่ยุติธรรมอย่างยิ่ง ส่วนหลักความยุติธรรมระหว่างคนรุ่นเดียวกันจะต้องมุ่งไปที่การแก้ไขปัญหา
                     ความยากจน และการสนองความต้องการของประชากรผู้ยากไร้ ด้อยโอกาส เพอลดความไม่เท่าเทียมกัน
                                                                                       ื่
                     การที่จะให้คนยากจนชื่นชมกับธรรมชาติ รักษาสภาพแวดล้อม ทั้ง ๆ ที่ปากท้องยังหิวอยู่เป็นเรื่องที่ขัดต่อ

                     ความรู้สึก ฝืนต่อความต้องการตามธรรมชาติของเขา เมื่อใดที่สามารถพัฒนาให้หลุดพ้นจากวงจรแห่งความ
                     ชั่วร้าย (โง่ เจ็บ จน) ได้ คนยากจนก็จะมีโอกาสใช้ทรัพยากร และสภาพแวดล้อมในลักษณะที่ยั่งยืนได้
                             แนวความคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน มีความเป็นมาเกี่ยวข้องกับการอนุวัตแผนปฏิบัติการ 21 (Agenda
                     21) และการพัฒนาที่ยั่งยืนและเกี่ยวข้องกับการประชุมระดับโลก 4 ครั้ง คือ

                             1) การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมมนุษย์ เมื่อ ปี พ.ศ. 2515 ที่กรุงสต๊อกโฮล์ม
                     ประเทศสวีเดน
                             2) การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาปี พ.ศ. 2535 ที่กรุงริโอ เดอ จาเนโร
                     สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ซึ่งแผนปฏิบัติการ 21 เกิดขึ้นจากการประชุมครั้งนี้

                             3) การประชุมสุดยอดโลกว่าด้วยการพัฒนาอย่างยั่งยืน เมื่อ ปี พ.ศ. 2545 ที่นครโจฮนเนสเบอร์ก
                                                                                                   ั
                     สาธารณรัฐอเมริกาใต้
                                                              ื่
                             4) การประชุม "คณะกรรมาธิการเพอการพฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ" ครั้งที่ 11
                                                                     ั
                     (UN Commission on Sustainable Development) หรือ CSD 11 ปี พ.ศ. 2546
                             โดยเฉพาะการประชุมครั้งส าคัญ Earth Summit ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโร (Rio De Janero)
                     สหพนธ์สาธารณรัฐบราซิลที่เป็นการจัดการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพฒนา
                                                                                                        ั
                          ั
                     (The United Nations Conference on Environment and Development: UNCED) ในปี ค.ศ. 1992
                     โดยการประชุมครั้งนี้ มีประชาชนและตัวแทนของรัฐบาลต่าง ๆ ไปร่วมประชุมถึงประมาณ 30,000 คน

                     โดยมีผู้น ารัฐบาลต่าง ๆ มากกว่า 100 คน ผลจากการประชุมท าให้เกิดแผนปฏิบัติการที่ 21 หรือ
                                                                                           ั
                     Agenda21 ที่เป็นบัญญัติหรือพนธะสัญญาร่วมกันของประเทศสมาชิกในการพฒนาภายใต้แนวคิด
                                                 ั
                                                                     ั
                     ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จนท าให้เกิดกระแสของการพฒนาที่ให้คุณค่ากับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
                     ทั้งด้านอปสงค์และอปทาน รวมถึงแนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน หรือ Sustainable Tourism
                             ุ
                                        ุ
                     ก็ถือก าเนิดขึ้นจากแผนปฏิบัติการที่ 21 นี้
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30