Page 28 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 28

บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน     17





                                                   ึ่
                     น ามาใช้ในการผลิตให้เป็นลักษณะพงพา ซึ่งมีมาแล้วเกือบ 20 ปี แต่ทุกคนมองข้ามประเด็นนี้ไป ตลอดจน
                     ได้รับผลจากภายนอกประเทศท าให้ประชาชนหลงลืม และมึนเมาอยู่กับการเป็นนักบริโภคนิยม รับเอาของ
                     ต่างชาติเข้ามาอย่างไม่รู้ตัว และรวดเร็วจนท าให้เศรษฐกิจของไทยตกต่ า

                              การปฏิบัติตนตามแนวทางพอเพียง มีแนวทาง ดังนี้
                              1. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟมเฟอยในการด ารงชีพอย่าง
                                                                                    ุ่
                                                                                        ื
                     จริงจัง
                              2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องสุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการ
                     ด ารงชีพก็ตาม

                              3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ และแข่งขันกันในทางการค้าขายประกอบอาชีพแบบต่อสู้กัน
                     อย่างรุนแรงดังอดีต
                             4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางในชีวิตหลุดพนจากความทุกข์ยากครั้งนี้ โดยต้องขวนขวายใฝ่หาความรู้
                                                             ้
                     ให้เกิดมีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมายส าคัญ

                             5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป ทั้งนี้ด้วยสังคมไทยที่ล่มสลายลงในครั้งนี้
                     เพราะยังมีบุคคลจ านวนมิใช่น้อยที่ด าเนินการโดยปราศจากละอายต่อแผ่นดิน
                             ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ที่ได้ทรงเล็งเห็นแล้วว่า
                     ถ้าประเทศไทยยังอยู่ในสภาวะที่เต็มไปด้วยความนิยมทางวัตถุ ประชากรด ารงชีวิตภายใต้ระบบทุนนิยม

                     ประเทศจะไม่สามารถอยู่รอดได้ จึงทรงคิดค้นทฤษฏีใหม่ คือ ทฤษฎี “เศรษฐกิจพอเพยง” เพอให้การ
                                                                                               ี
                                                                                                      ื่
                     ด ารงชีวิตของคนไทยทุกระดับมีความมั่นคงยืนอยู่บนขาตัวเอง บนพื้นฐานความพอประมาณ ความมีเหตุผล
                     เป็นการสร้างระบบภูมิคุ้มกน เมื่อมีสิ่งเข้ามากระทบทั้งภายในและภายนอก โดยอาศัยความรอบรู้รอบคอบ
                                            ั
                     และระมัดระวังอย่างยิ่งในการน าวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนในการด าเนินงานทุกขั้นตอน และ

                     จะต้องเสริมสร้างพนฐานของจิตใจให้ทุกคนมีส านึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต ซึ่งที่เป็นหนทางที่จะ
                                     ื้
                     ท าให้เกิดการพฒนาอย่างยั่งยืน ความส าเร็จจะเกิดขึ้นได้เมื่อคนในชาติมีมโนส านึกอยู่ในศีลธรรม คุณธรรม
                                  ั
                     และจริยธรรมที่ดีงาม คนจะต้องลดเลิกละจากกิเลสตัณหา มีสติปัญญาที่คิดเห็นไตร่ตรองเหตุผลแยกแยะ

                     ชั่วดี มนุษย์ก็จะอยู่อย่างไม่เบียดเบียนธรรมชาติ สรรพสิ่งในโลกและมนุษย์ด้วยกัน ทุกสิ่งก็จะอยู่กันอย่าง
                     เกื้อกูลสังคมก็จะสงบสุข
                               2) การพัฒนาอย่างยั่งยืนตามแนวคิดเชิงพุทธศาสตร์
                                                                                                         ั
                               แนวคิดของพระธรรมปิฎก (ประยุทธ ปยุตโต, 2539, หน้า 58-59) กล่าวว่า หัวใจของการพฒนา
                     ที่ยั่งยืนนั้น ประกอบด้วยค าศัพท์ที่น ามาจับคู่กัน 2 คู่ คือการพฒนา (Development) กับสิ่งแวดล้อม
                                                                           ั
                     (Environment) และเศรษฐกิจ (Economy) กับนิเวศวิทย์ (Ecology) โดยเห็นว่าควรให้ความเจริญ
                     ทางเศรษฐกิจอยู่ภายใต้เงื่อนไขของการอนุรักษ์สภาพแวดล้อม หมายความว่า ต้องให้การพฒนาหรือ
                                                                                                    ั
                     ความเติบโตทางเศรษฐกิจนั้นอยู่ในภาวะที่สิ่งแวดล้อมรองรับไหวด้วย หรือว่าเจริญไปโดยไม่รังแกธรรมชาติ

                                                       ั
                     การพฒนาที่ยั่งยืนนี้มีลักษณะเป็นการพฒนาที่เป็นบูรณาการ (Integrated) คือ ท าให้เกิดเป็นองค์รวม
                          ั
                     (Holistic) หมายความว่า องค์ประกอบทั้งหลายที่เกี่ยวข้องจะต้องมาประสานกันครบองค์ และมีลักษณะ
                     อีกอย่างหนึ่งคือมีดุลยภาพ (Balanced) (ประยุทธ ปยุตโต, 2539, หน้า 62-63)
                             ส าหรับการจะพฒนาให้ส าเร็จได้นั้น พระธรรมปิฎกเห็นว่าคนต้องมีจริยธรรม เนื่องจากปัจจุบัน
                                          ั
                     มนุษย์มีนิสัยที่เป็นสังคมบริโภค ประสบกับปัญหาสังคมและชีวิตจิตใจ จนกระทั่งเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมขึ้น
                     จึงต้องน าเอาจริยธรรมมาช่วยแก้ปัญหาอย่างจริงจัง โดยการพฒนาให้คนมีจริยธรรมนั้น จะส าเร็จได้ด้วย
                                                                         ั
                     การศึกษา อย่างน้อยจะต้องรู้เท่าทันปัญหาเมื่อพฒนาคนขึ้นไปแล้วจึงจะเกิดจริยธรรมที่แท้จริง คือเป็น
                                                               ั
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33