Page 29 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 29

บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน     18





                     จริยธรรมแห่งความพอใจ และความสุข แนวคิดของพระราชวรมุนี (ประยูรธมฺมจิตฺโต, 2542) กล่าวถึง
                          ั
                     การพฒนาอย่างยั่งยืนว่า ในภาษาพระไตรปิฎกหรือภาษาบาลีจะปรากฏในค า 2 ค า คือ “ภาวนา” กับ
                     “พัฒนา” โดยให้ความหมายของค าทั้งสองนี้ว่า

                             พฒนา หรือ วัฒนา หมายถึง การเติบโต เช่น ต้นไม้งอกเป็นการเติบโตที่ไม่มีการควบคุม ไม่มีการ
                              ั
                     ก าหนดเป้าหมาย ซึ่งอาจจะยั่งยืนหรือไม่ยั่งยืนก็ได้
                             ภาวนา หมายถึง เจริญ เป็นความเจริญที่ยั่งยืน มีการควบคุม และก าหนดเป้าหมาย ซึ่งค าว่า
                     ภาวนานี้ ใช้ในการพฒนามนุษย์ คือ กายภาวนา จิตภาวนา ศีลภาวนา และปัญญาภาวนา โดยการพฒนา
                                      ั
                                                                                                         ั
                                              ั
                                    ั
                                                                                                        ั
                                                                                ั
                     ที่ยั่งยืนเป็นการพฒนาที่สัมพนธ์กับมนุษย์ มีมนุษย์เป็นตัวตั้งในการพฒนา ซึ่งหากมองไปว่าการพฒนา
                     อย่างยั่งยืนเป็นการพฒนาที่สัมพนธ์กับโลกและสิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่หมายถึงการรักษามรดกของโลก
                                                 ั
                                       ั
                     สิ่งแวดล้อมของโลกให้คงอยู่ชั่วลูกชั่วหลาน จะเป็นแนวคิดที่สัมพนธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างเดียว นอกจากนี้
                                                                           ั
                                     ุ
                     แนวคิดทางพระพทธศาสนา ยังถือว่ามนุษย์เป็นองค์ประกอบที่ส าคัญ คือให้คนเป็นศูนย์กลางของการ
                       ั
                                      ั
                              ื่
                                                  ื่
                     พฒนา เพอให้การพฒนาเป็นไปเพอการสร้างสันติสุข การอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ โดยใช้
                     การศึกษาเป็นกลไกในการด าเนินการ และมีหลักธรรมทางพทธศาสนาเป็นเครื่องมือ เป็นการใช้วิถีชีวิตของ
                                                                      ุ
                                                                  ั
                                              ั
                     คนเป็นฐานความคิดในการพฒนาคือจะมุ่งไปที่การพฒนาระบบการด าเนินชีวิตของคนชุมชนและสังคม
                     ตลอดจนสภาพแวดล้อมให้ด ารงอยู่ด้วยดีต่อเนื่องเรื่อยไป
                             หนทางน าไปสู่การพฒนาที่ยั่งยืนบนพนฐานเศรษฐกิจพอเพยง โดยมีคนเป็นศูนย์กลางการพฒนา
                                             ั
                                                            ื้
                                                                              ี
                                                                                                        ั
                     ในที่นี้จะขอกล่าวถึง “คน” เป็นปัจจัยแรก เพราะ “คน” เป็นปัจจัยที่ส าคัญที่สุดในการที่จะท าให้เกิด
                          ั
                     การพฒนาที่ยั่งยืน “คน” เป็นผู้สร้างปัญหาทั้งหลายทั้งปวงให้เกิดขึ้น เพราะตัวกิเลสตัณหาที่มีอยู่ในตัวคน
                                                                              ั
                     จึงเป็นปัญหาอปสรรค์ขีดขวางที่จะให้โลกไม่สามารถเดินไปสู่การพฒนาอย่างยั่งยืน ดังที่พระธรรมปิฎก
                                  ุ
                     (ประยุทธ ปยุตโต, 2541) ได้อธิบายความไว้ ดังนี้
                            ตัณหา คือ ความอยากได้ อยากบ ารุงบ าเรอตัวเองให้มีความสุขสะดวกสบาย พรั่งพร้อมด้วยวัตถุ
                     ที่มากมายสมบูรณ์ พูดง่าย ๆ ว่าความอยากได้ผลประโยชน์

                                                                               ื่
                            มานะ คือ ความต้องการยิ่งใหญ่ อยากมีอานาจครอบง าผู้อนตั้งแต่ระดับบุคคลถึงระดับสังคม
                     ประเทศชาติ พูดง่าย ๆ ว่าความใฝ่อ านาจ
                            ทิฐิ คือ ความยึดมั่น ตลอดจนคลั่งไคล้ในค่านิยม แนวความคิด สิทธิ ศาสนา อดมการณ์ต่าง ๆ
                                                                                               ุ
                     ข้อนี้ เป็นผู้ร้ายที่สุดที่รองรับส าทับปัญหาไว้ให้เหนียวแน่น ยึดเยื้อ และแก้ไขยากเหมือนกับตัณหาและ
                                                                              ั
                     มานะที่นอนก้นแล้ว จะเห็นได้ว่าตัวกิเลสเป็นสิ่งที่ขัดขวางต่อการพฒนาที่ยั่งยืน ถ้าไม่สามารถขจัดหรือ
                                                                                            ื่
                     ลดละออกจากตัวมนุษย์ได้ เพราะตัวกิเลสตัณหานี้จะเป็นตัวที่ท าลายทุกอย่างในโลก เพอสนองความอยากได้
                                                                                         ุ

                     ผลประโยชน์ ความอยากมีอานาจความยิ่งใหญ่ หรือความยึดมั่นถือมั่นในค่านิยมอดมการณ์ มนุษย์ท าร้าย
                                                                                                ื่
                     สิ่งรอบตัวไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรธรรมชาติ สัตว์ สรรพสิ่ง หรือแม้แต่มนุษย์ด้วยกันเอง เพอสนองต่อกิเลส
                     จึงเป็นเรื่องที่น่าสะพรึงกลัวยิ่งนัก ลองวาดภาพดูว่าถ้ามนุษย์ชาติทุกคนในโลกนี้มีกิเลสตัณหาครอบง า
                     อะไรจะเกิดขึ้น โลกจะเป็นอย่างอย่างไร เพราะทรัพยากรธรรมชาติ สัตว์ สรรพสิ่ง หรือแม้แต่มนุษย์ด้วยกัน
                     จะไม่มีวันยอมให้ถูกท าร้ายแต่เพยงฝ่ายเดียว จะต้องมีการตอบโต้ ดังจะเห็นได้จากการเกิดภัยธรรมชาติ
                                                 ี
                     น้ าท่วม สึนามิ ต้นเหตุเกิดจากมนุษย์ไปท าการตัดไม้ท าลายป่า และท าลายระบบนิเวศวิทยาในโลก

                     จึงเต็มไปด้วยความวุ่นวายไม่สงบสุข เพราะทุกสิ่งในโลกอยู่อย่างท าลายล้างกัน และผลสุดท้ายก็คือมนุษย์
                     นั่นเองที่จะประสบกับความพินาศล่มสลาย ดังนั้น การที่จะท าให้มนุษย์ลดละจากกเลสที่เป็นตัวปัญหา ก็คอ
                                                                                                           ื
                                                                                         ิ
                     การพฒนา “ด้านจิตใจ” ให้มนุษย์มีมโนส านึกที่ดี มีความรักความโอบออมอารี เออเฟอเผื่อแผ่ มีเหตุผล
                          ั
                                                                                  ้
                                                                                          ื้
                                                                                              ื้
                                                                                        ุ
                     สามารถแยกแยะสิ่งดีสิ่งชั่ว รู้ว่าสิ่งไหนควรท าหรือไม่ควรท า ด้วยการใช้หลักพทธธรรมมาขัดเกลา และ
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34