Page 34 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 34
บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 23
บทบาทของนักอนุรักษ์
1) ต้องมีหัวใจเป็นนักอนุรักษ์ จากค ากล่าวที่ว่า ท่านถูกเรียกว่านักร้อง ด้วยเหตุที่ท่านร้องเพลง
ได้ไพเราะ ท่านถูกเรียกว่าเป็นจิตกร ด้วยเหตุที่ท่านสามารถสร้างสรรค์งานจิตรกรรมได้เป็นที่ยอมรับต่อ
ี
สาธารณชน "ศิลปิน ย่อมมีผลงานศิลปะ" เพราะฉะนั้น นักอนุรักษ์ไม่เพยงแต่รักงานอนุรักษ์ หรือเป็น
นักวิชาการอนุรักษ์ จ าเป็นต้องปฏิบัติตนเป็นอนุรักษ์อย่างแท้จริงด้วยตนเอง
2) ต้องมีหัวใจแห่งการเสียสละ นั่นคือ ต้องค านึงถึงประโยชน์ของสังคมส่วนรวมมากกว่า
ประโยชน์แห่งตน
ื่
ึ
3) ต้องมีหัวใจที่รักและหวังดีต่อเพอนมนุษย์ด้วยกัน นั่นคือ นักอนุรักษ์ไม่พงอคติต่อผู้อน
ื่
งานอนุรักษ์จะส าเร็จได้ด้วยมิตรภาพและความเข้าใจอนดี คุณสมบัติดังกล่าวนี้เอง ที่จะช่วยเป็นตัวก าหนด
ั
บทบาทว่า ท่านทั้งหลายพร้อมหรือยังที่จะก้าวล่วงมาเป็นเยาวชนอนุรักษ ์
1.3.2 การอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว
ั
ทรัพยากรท่องเที่ยวเป็นสินค้าหลักของการท่องเที่ยวที่มีความจ าเป็นในอนที่จะดูแลรักษาไว้มิให้
ื่
เสื่อมโทรม มีธรรมชาติที่สวยงาม มีวัฒนธรรมประจ าชาติที่น่าภาคภูมิใจ เพอการดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยว
เข้าไปเยือน ก่อให้เกิดมูลค่ามหาศาลทางเศรษฐกิจ เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้แก่ท้องถิ่น จนนับเป็น
ั
รายได้ที่มากเป็นอนดับหนึ่งของประเทศ ดังนั้นรากฐานส าคัญในการพฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว
ั
ในภาพรวม การปลูกจิตส านึกของคนในท้องถิ่นให้รักหวงแหน และชื่นชมในคุณค่าความงดงามแห่งมรดก
ทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่สืบทอดมา ก็เพอให้พวกเขาได้ส านึกแห่งความภาคภูมิใจ รับผิดชอบ และ
ื่
พร้อมที่จะดูแลรักษาสมบัติของแผ่นดินเหล่านั้น การปลูกจิตส านึกจึงมีความจ าเป็นที่บุคคลทุกฝ่ายต้อง
ช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากรท่องเที่ยวให้คงคุณค่า คงความสวยงามอย่างยั่งยืน
การอนุรักษ์ มิใช่การกักเก็บสิ่งเหล่านั้นไว้ แต่การอนุรักษ์เป็นการใช้อย่างมีประสิทธิภาพให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด ใช้ได้นานที่สุด และเกิดประโยชน์ต่อคนจ านวนมากที่สุด ดังนั้นถ้าน าแนวความคิดในเรื่อง
การอนุรักษ์มาใช้กับแหล่งท่องเที่ยว ก็หมายว่าการอนุรักษ์ มิใช่การห้ามมิให้นักท่องเที่ยวเข้าไปในแหล่ง
ท่องเที่ยว แต่การที่นักท่องเที่ยวเข้าไปในเขตดังกล่าวแล้วต้องไม่ท าลายแหล่งท่องเที่ยว ดังนั้นการอนุรักษ์
แหล่งท่องเที่ยวจึงเป็นการน าทรัพยากรการท่องเที่ยวมาใช้ให้เหมาะสมที่สุด ได้ประโยชน์สูงสุดพร้อมทั้ง
ป้องกันรักษาให้ได้คงทนในระยะเวลานานที่สุด ได้ประโยชน์สูงสุด พร้อมทั้งป้องกันรักษาไว้ให้คงทน
ในระยะทางนานที่สุด
การอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว ให้ประสบผลส าเร็จควรใช้มาตรการดังต่อไปนี้ (ชยาภรณ์ ชื่นรุ่งโรจน์,
2537, หน้า 222-223)
1. มาตรการทางสังคม มนุษย์มีความเชื่อผูกพนเกี่ยวกับศาสนา สิ่งศักดิ์สิทธิ์จิตใจของมนุษย์
ั
ื่
มีความกลัว ความย าเกรง ความเคารพนับถือ หรือความรู้สึกอน ๆ ต่อสิ่งดังกล่าวแล้ว สิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้ทั้ง
คุณประโยชน์และโทษแก่มนุษย์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับมนุษย์แสดงพฤติกรรมต่อสิ่งนั้นอย่างไร การอาศัยความ
เกรงกลัวของมนุษย์ดังกล่าวแล้วเป็นปฏิบัติหรือมาตรการมิให้การท าลายแหล่งท่องเที่ยวก็จัดเป็นแนว
ปฏิบัติที่ดีอย่างหนึ่ง แหล่งท่องเที่ยวหลายแห่งเป็นที่ศักดิ์สิทธิ์ หรือมีความเกี่ยวข้องกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ก็ควรใช้
มาตรการดังกล่าวแล้ว เช่น ป่าไม้มีเทวดารักษาป่าต้นไม้ใหญ่บางชนิดมีผีรักษาดังนั้นไม่ควรตัดท าลาย
ต้นไม้ เทวดาหรือผีจะลงโทษในล าธาร ห้วย มีผีน้ าไม่ควรทิ้งสิ่งปฏิกูลลงในล าธาร ล าห้วย เพระผีน้ าจะให้โทษ
ตัวอย่างการใช้มาตรการทางสังคม เป็นข้อห้ามซึ่งประสบผลส าเร็จ เช่น ที่ถ้ าลอด อาเภอเมือง
่
จังหวัดแม่ฮองสอน บริเวณถ้ าลอดมีล าธารไหลผ่านถ้ า ในล าธารมีปลาชุกชุม แต่ประชาชนไม่บริโภคปลา
เหล่านั้นเพราะมีความเชื่อว่าปลาในถ้ าถ้าบริโภคแล้วเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต