Page 35 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 35
บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 24
แหล่งท่องเที่ยวหลายแห่ง เช่น ถ้ า ภูเขา เกาะ เจดีย์ วัด ฯลฯ บางแห่งมีต านานหรือความเชื่อที่
ื้
น่าเกรงกลัวก็น่าจะรื้อฟนความเชื่อเหล่านั้น เพอให้ประชาชนเกิดความเกรงกลัว และไม่ท าลายแหล่ง
ื่
ท่องเที่ยว
2. มาตรการทางธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ สามารถเสริมสร้างขึ้นใหม่ได้ตาม
ขบวนการธรรมชาติ กล่าวคือ ทรัพยากรประเภทนี้เมื่อใช้แล้วก็คืนรูปตามขบวนการทางธรรมชาติ เช่น
ป่าไม้ เมื่อถูกโค่นท าลายหลังจากปล่อยทิ้งไว้ระยะหนึ่งป่าไม้จะเกิดขึ้นมาใหม่ และปรับตัวเข้าสู่สภาพเดิม
แต่ทั้งนี้ต้องไม่ถูกท าลายมากมายจนปรับเปลี่ยนเข้าสู่สภาพเดิมไม่ได้
ื่
เมื่อธรรมชาติสามารถปรับเปลี่ยนเข้าสู่สภาพเดิมได้ การวางมาตรการทางธรรมชาติ เพอให้เกิด
ความสมดุลในการปรับตัวของแหล่งท่องเที่ยวกับนักท่องเที่ยวจึงเป็นสิ่งส าคัญ รัฐบาลควรมีข้อห้ามในเรื่อง
ื่
ระยะเวลาของการท่องเที่ยว ปริมาณนักท่องเที่ยวจ านวนวันพกของนักท่องเที่ยวเพอให้ธรรมชาติเกิดการ
ั
ปรับตัวได้ไม่ถูกท าลาย แหล่งท่องเที่ยวบางแห่งก็ปรับตัวตามกฎของธรรมชาติ โดยไม่มีกฎหมายหรือ
่
ข้อบังคับ เช่น ทุ่งดอกบังตอง ดอยแม่อคอ อาเภอขุนยาม จังหวัดแม่ฮองสอน ดอกบัวตองบานในเดือน
ู
ี
ี
พฤศจิกายน-ธันวาคม นักท่องเที่ยวก็ไปเที่ยวชมดอกบัวตองเพยงระยะ 2 เดือน เหลือเวลาอก 10 เดือน
ทุ่งดอกบัวตองก็สามารถปรับตัว และผลิดอกใหม่หลังฤดูฝน (เดือนสิงหาคม-ตุลาคม) อีกครั้งหนึ่ง
การเกิดพายุท าให้ทะเลมีคลื่นลม และฝนตกหนัก ก็เป็นมาตรการอย่างหนึ่งของธรรมชาติที่ป้องกัน
ื
มิให้นักท่องเที่ยวเดินทางไปชายทะเล หรือหมู่เกาะ จึงท าให้แหล่งท่องเที่ยวเกิดการปรับตัว พชและสัตว์
ไม่ถูกนักท่องเที่ยวรบกวน และท าลายจึงมีโอกาสเจริญเติบโต
อย่างไรก็ตาม ล าพงแต่มาตรการซึ่งเกิดจากอปสรรคของธรรมชาติอย่างเดียวในการห้ามปราม
ุ
ั
นักท่องเที่ยวย่อมไม่ได้ผล ต้องอาศัยกฎหมายหรือข้อบังคับจากรัฐบาลหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องด้วย
ิ่
3. มาตรการทางกฎหมาย การเพมจ านวนประชากร มีผลกระทบโดยตรงต่อการขยายตัวของ
พื้นที่ในการประกอบอาชีพ เช่น เกิดการบุกรุกป่า หรือพื้นที่สาธารณอื่นเพื่อใช้เป็นแหล่งในการสร้างผลผลิต
ในด้านเกษตรกรรม พาณิชยกรรม อตสาหกรรม หรือการปลูกสร้างที่อยู่อาศัย ทรัพยากรการท่องเที่ยว
ุ
ทางธรรมชาติแหลายแห่ง เช่น น้ าตก หาดทราย ภูเขา ฯลฯ ถูกประชาชนบุกรุกด้วยวัตถุประสงค์ดังกล่าว
ื่
การใช้มาตรการทางกฎหมายเพอป้องกันและลงโทษผู้ที่ฝ่าฝืน จึงเป็นสิ่งจ าเป็นอย่างยิ่งในการอนุรักษ์
แหล่งท่องเที่ยว ในปัจจุบันมีกฎหมายหลายฉบับที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว เช่น
พระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 พระราชบัญญัติอทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504
ุ
พระราชบัญญัติโบราณสถานโบราณวัตถุศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติ
ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ฯลฯ
4. มาตรการทางเศรษฐกิจ การพฒนาการท่องเที่ยว โดยมุ่งเป้าหมายด้านปริมาณ คือ จ านวน
ั
นักท่องเที่ยว และรายได้ที่เพิ่มขึ้น ย่อมก่อให้เกิดผลเสียต่อแหล่งท่องเที่ยว เพราะแหล่งท่องเที่ยวไม่สามารถ
ิ
รองรับปริมาณจ านวนมากของนักท่องเที่ยวได้ ก่อให้เกิดปัญหามลพษ เช่น อากาศเสีย น้ าเน่า ขยะ
การท าลายระบบนิเวศในด้านอน ๆ การใช้มาตรการทางเศรษฐกิจโดยการลดรายได้จากนักท่องเที่ยว
ื่
ให้น้อยลง เพอให้สมดุลกับปริมาณนักท่องเที่ยวและการปรับสภาพของแหล่งท่องเที่ยว การเก็บภาษีอากร
ื่
จากผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว เพื่อน ารายได้จากภาษีอากรมาพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การยกเว้นหรือ
ลดหย่อนภาษีอากรให้แก่ผู้ประกอบการที่อนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว เช่น การยกเว้นภาษีอากรให้แก่
ผู้ประกอบการที่อนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว เช่น การยกเว้นหรือลดหย่อนการเก็บภาษีโรงเรือนแก่อาคารเก่า
ื่
ซึ่งมีค่าทางด้านศิลปวัฒนธรรมน ามาปรับปรุงเป็นโรงแรม ร้านอาหาร หรือสถานประกอบการอน ๆ