Page 40 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 40
บทที่ 2 อุตสาหกรรมการท่องเทยวและจิตบริการ 29
ี่
บทที่ 2
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการ
(Tourism and Hospitality Industry)
บทน า
อตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีส่วนส าคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนการพฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ุ
ั
ิ่
ของแต่ละประเทศ อกทั้งมีการขยายตัวเพมขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยในปี พ.ศ. 2560 มีจ านวนนักท่องเที่ยว
ี
ประมาณ 1,323 ล้านคน เพมขึ้นจากปี พ.ศ. 2559 ประมาณ 84 ล้านคน หรือประมาณร้อยละ 7 และ
ิ่
ิ่
มีอตราเพมขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 4 ต่อเนื่องเป็นเวลา 8 ปี โดยนักท่องเที่ยวนิยมเดินทางท่องเที่ยวในยุโรป
ั
ิ
ประมาณ 671 ล้านคน หรือร้อยละ 51 รองลงมา คือ เอเชียแปซิฟก ประมาณ 324 ล้านคน หรือร้อยละ 25
(World Tourism Organization, 2018) ภูมิภาคเอเชียแปซิฟกเป็นภูมิภาคที่มีการขยายตัวเร็วที่สุดด้วย
ิ
อัตราการขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 5.8 ต่อปี (Bank of Thailand, 2017)
ผลส ารวจสุดยอดจุดหมายปลายทางโลกของมาสเตอร์การ์ดฉบับที่ 7 ประจ าปี พ.ศ. 2561 หรือ
Master Card Global Destination Cities Index: GDCI 2018 ระบุว่า อตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย
ุ
ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง และประเทศไทยยังเป็นเพยงประเทศเดียวจากผลส ารวจทั่วโลกที่มี
ี
เมืองท่องเที่ยวถึง 3 แห่ง ติดอยู่ใน 20 อนดับแรก และกรุงเทพมหานครคือเมืองที่เป็นจุดหมายปลายทาง
ั
อนดับหนึ่งของโลกที่มีนักท่องเที่ยวต้องการมาเยือนและพกแรมมากที่สุด (Monti, 2018) ในปี พ.ศ. 2561
ั
ั
ประเทศไทยมีรายได้จากการท่องเที่ยวประมาณ 2,185 พนล้านบาท แบ่งเป็นรายได้จากนักท่องเที่ยว
ั
ต่างชาติที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย ตั้งแต่เดือนมกราคม - กันยายน พ.ศ. 2561 จ านวน
ั
1,490 พนล้านบาท และนักท่องเที่ยวภายในประเทศที่เดินทางท่องเที่ยวตั้งแต่เดือนมกราคม - สิงหาคม
ั
พ.ศ. 2561 จ านวน 695 พนล้านบาท (Ministry of Tourism and Sports, 2018) จะเห็นได้ว่า
ุ
อตสาหกรรมท่องเที่ยวสร้างรายได้ให้กับประเทศไทยเป็นอย่างมาก ประกอบกับประเทศไทยมีกิจกรรม
การท่องเที่ยวที่หลากหลาย เช่น การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sports Tourism) การท่องเที่ยวเชิงอาหาร
(Gastronomy Tourism) การท่องเที่ยวทางน้ า (Maritime Tourism) การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์และ
ื่
สุขภาพ (Medical and Wellness Tourism) การท่องเที่ยวเพอการแต่งงานและฮนนีมูน (Wedding and
ั
Honeymoon Tourism) และการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism) เป็นต้น
ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ สามารถส่งเสริมการท่องเที่ยวให้มีความโดดเด่นและดึงดูดนักท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี
(The Tourism Authority of Thailand Market Research Division, 2017)
2.1 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (Tourism Industry)
ค าว่า “อตสาหกรรม” ตามพจนานุกรม คือ “การกระท าสิ่งใด ๆ เพอให้เป็นสินค้า” แต่ปัจจุบัน
ื่
ุ
มีความหมายมากกว่านั้น คือ “กิจกรรมทางเศรษฐกิจ อย่างมีระบบการพาณิชย์ หรือการผลิตสาขาใด
สาขาหนึ่ง” การท่องเที่ยวก็คือ การด าเนินกิจกรรมบริการด้านการน าเที่ยว เช่น บริการด้านการเดินทาง
บริการด้านอาหารและการพกแรม และบริการด้านการน าเที่ยว ซึ่งด าเนินการโดยหวังผลก าไร ที่ต้องอาศัย
ั
แรงงานและการลงทุนสูง โดยใช้เทคนิควิชาการเฉพาะ มีการวางแผน การจัดองค์การ และการตลาด
ครอบคลุมธุรกิจหลายประเภท ทั้งที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวโดยตรงและโดยออม
้