Page 32 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 32

บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน     21





                     1.3 การพัฒนาอย่างยั่งยืนกับการอนุรักษ  ์
                                 ั
                             การพฒนา คือ การท าให้เจริญขึ้น ดีขึ้น ส่วนการอนุรักษ์นั้น หมายถึง การใช้ทรัพยากรอย่างมี
                     ประสิทธิภาพ กระบวนการพฒนาที่เหมาะสม ก็คือการจัดการทางวิทยาการอย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่เกิด
                                             ั
                                                           ั
                     ผลเสียทางสิ่งแวดล้อมนั่นเอง ท าไมการพฒนาทางวิทยาการจึงกลายเป็นปฏิปักษ์ หรือขัดแย้งกับ
                                                                                            ั
                     การอนุรักษ์ หรือจะกล่าวในท านองกลับกันว่า ท าไมการอนุรักษ์จึงขัดแย้งกับการพฒนาทางวิทยาการ
                     สาเหตุส าคัญ คือ
                               1) เป็นการมองเรื่องเดียวกันโดยยืนอยู่คนละจุด ย่อมมองเห็นแง่มุมที่ต่างกันออกไป ทั้งที่

                     โดยข้อเท็จจริงแล้ว กระบวนการพฒนาที่สมบูรณ์จะขาดกระบวนการจัดการด้านการอนุรักษ์ไม่ได้
                                                    ั
                                 ั
                     แต่กระบวนพฒนาทุกวันนี้ กลับปราศจากการวางแผนจัดการด้านการอนุรักษ์ หรือการจัดการทาง
                     สิ่งแวดล้อมโดยสิ้นเชิง

                               2) การอนุรักษ์ในบางครั้ง มักจะมีแนวความคิดที่ต่อต้านต้านแรงจนเกินไป แทนที่จะเป็นการ
                                                                                                    ึ
                     ผสมผสานกลมกลืน นักอนุรักษ์จะต้องเป็นผู้ประสานประโยชน์ที่ชาญฉลาด และสามารถแทรกซมกลมกลืน
                     กับสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนากระบวนการทางสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ

                             1.3.1 แนวคิดการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
                             การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (Conservation) หมายถึง การรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เป็น

                     ประโยชน์มากที่สุด และใช้ได้เป็นระยะเวลานานมากที่สุด ทั้งนี้จะต้องให้มีความสูญเสียทรัพยากรโดย
                     เปล่าประโยชน์น้อยที่สุด แต่ในขณะเดียวกันสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรนั้นให้คุ้มค่ามากที่สุด
                     หรือเรียกว่าการใช้อย่างยั่งยืน สาเหตุที่ต้องมีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เพราะผลสืบเนื่องจาก
                     การเพมประชากร และการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเป็นตัวเร่งที่ท าให้เกิดการ
                           ิ่
                                                  ั
                     ร่อยหรอของทรัพยากรธรรมชาติ อนน ามาซึ่งปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากร ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้น
                     จะเกี่ยวข้องกบการด ารงชีวิตของประชาชนทั้งในเขตเมืองและชนบท นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับความมั่นคง
                                ั
                     และมั่งคั่งของประชาชนในชาติ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตินั้นจะต้องมีนโยบายในการควบคุมการใช้
                     ทรัพยากรอย่างชาญฉลาด ค านึงถึงผลได้ผลเสียอย่างถี่ถ้วนโดยการพจารณาตามหลักวิชาการอย่างมี
                                                                                 ิ
                     ประสิทธิภาพ ถูกจังหวะ และความต้องการของสังคม ทั้งนี้เพราะทรัพยากรธรรมชาติเป็นมรดกอันมหาศาล
                     ที่ธรรมชาติให้ไว้เพอมนุษย์ได้ใช้ในการด ารงชีวิต จึงจ าเป็นต้องศึกษาค้นคว้าถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
                                     ื่
                        ื่
                     เพอมิให้ทรัพยากรธรรมชาตินั้นหมดไปอย่างรวดเร็ว เพราะในการอนุรักษ์เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์
                     ทั้งในเมืองและชนบท ดังนั้นในการวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างชาญฉลาดจะต้องไม่แยก

                     มนุษย์ออกจากสภาพแวดล้อม ทางสังคม และวัฒนธรรม หรือสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ
                             การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สามารถกระท าได้หลายวิธีทั้งทางตรงและ
                     ทางอ้อม ดังนี้
                            1. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยทางตรง ซึ่งปฏิบัติได้ในระดับบุคคล

                     องค์กร และระดับประเทศ ที่ส าคัญ คือ
                               1) การใช้อย่างประหยัด คือ การใช้เท่าที่มีความจ าเป็น เพื่อให้มีทรัพยากรไว้ใช้ได้นาน และเกด
                                                                                                           ิ
                     ประโยชน์อย่างคุ้มค่ามากที่สุด
                                                                                                           ี
                                                   ี
                               2) การน ากลับมาใช้ซ้ าอก สิ่งของบางอย่างเมื่อมีการใช้แล้วครั้งหนึ่งสามารถที่จะน ามาใช้ซ้ าได้อก
                     เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ เป็นต้น หรือสามารถที่จะน ามาใช้ได้ใหม่โดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ เช่น การน า
                     กระดาษที่ใช้แล้วไปผ่านกระบวนการต่าง ๆ เพอท าเป็นกระดาษแข็ง เป็นต้น ซึ่งเป็นการลดปริมาณการใช้
                                                            ื่
                     ทรัพยากรและการท าลายสิ่งแวดล้อมได้
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37