Page 30 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 30

บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน     19





                                                                                    ั
                     จรรโลงจิตใจ ใช้หลักไตรสิกขาคือ ศีล สมาธิ ปัญญา เมื่อมนุษย์ได้รับการพฒนาจิตใจให้ดีงามแล้วมนุษย์
                     ก็จะเกิดปัญญา “รู้แจ้งเห็นจริง” ลดละจากกิเลสตัณหาทั้งปวง ลดความอยากได้ใคร่มี อยากมีอานาจ

                                               ุ
                     อยากยิ่งใหญ่ ยึดมั่นถือมั่นในอดมการณ์มนุษย์ก็จะกลายเป็นผู้ให้ ผู้เกื้อหนุน ผู้จรรโลงโลกให้เกิดความ
                     สงบสุข โดยสร้างดุลภาพให้เกิดขึ้นระหว่างมนุษย์ สิ่งแวดล้อม สังคม เทคโนโลยี ทุกที่จะอยู่อย่างเกื้อกูล
                     กันและกัน มนุษย์จะรักษาและไม่ท าลายสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและ
                     ทรัพยากรธรรมชาติก็จะให้ประโยชน์ในการด ารงชีพของมนุษย์ มนุษย์ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยสร้างสรรค์ให้
                     เกิดสภาพแวดล้อมที่ดี ในที่สุดสังคมก็จะเป็นสังคมแห่งความสงบสุขมีความเกื้อกูลต่อกัน และการด ารงชีวิต
                                          ุ้
                                                                                                ี
                                                       ุ่
                                                           ื
                                             ้
                     ของมนุษย์ที่มีแต่ความฟงเฟอเห่อเหิม ฟมเฟอยนิยมวัตถุ ก็จะกลับมาด ารงชีวิตแบบพอเพยง โดยใช้หลัก
                                                                                                        ี
                                                                                ุ้
                     เศรษฐกิจพอเพยง ซึ่งเป็นเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน หมายความว่าอมชูตัวเองได้ให้มีความพอเพยงกับ
                                   ี
                     ตัวเอง อยู่ได้อย่างไม่ต้องเดือดร้อน สามารถยืนอยู่บนขาตัวเองโดยที่ไม่ต้องพงพาคนอน นั่นคือฐานชีวิต
                                                                                              ื่
                                                                                      ึ่
                                                                                     ื่
                     ที่มั่นคง เศรษฐกิจพอเพียงไม่ได้หมายความว่าไม่คบค้าสมาคมไม่ค้าขายกับผู้อน เมื่อเรายืนด้วยตัวเองอย่าง
                                                                                          ื่
                     มั่นคงเราก็สามารถเอาสิ่งที่เราเหลือกินเหลือใช้ไปท าการค้ากับผู้อน น าเงินเข้ามาเพอเป็นเงินออมหรือเงิน
                                                                           ื่
                                                                                                           ั
                     ที่จะลงทุนต่อไปในอนาคต เปรียบเสมือนบ้านที่มีรากฐานที่แข็งแรง เมื่อเกิดความแข็งแรงแม้ลมพายุที่พด
                     โหมกระหน่ าก็ไม่สามารถท าให้บ้านพงทลายได้ เปรียบเสมือนภูมิคุ้มกันภัยอย่างดี ทั้งนี้จะต้องอาศัยความ
                                                    ั
                     รอบรู้  ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการท าเอาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนในทุกขั้นตอน
                     ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพนฐานจิตใจให้คนด ารงอยู่ด้วยคุณธรรมและความซื่อสัตย์สุจริต นั้นเป็น
                                                 ื้
                     เครื่องแสดงอย่างชัดเจนแล้วว่า เป็นหนทางที่จะน าสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
                             จากข้างต้น สามารถสรุปความเชื่อมโยงระหว่างการพฒนาอย่างยั่งยืนกับแนวคิดเชิงพทธศาสตร์
                                                                         ั
                                                                                                    ุ
                     และปรัชญาของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ตามภาพ 1.2

















                                            ภาพที่ 1.2  การพัฒนาอย่างยั่งยืนกับแนวคิดเชิงพุทธศาสตร์

                                                และปรัชญาของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35