Page 26 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 26

บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน     15





                                                  ั่
                             ปรัชญาการพัฒนาอย่างยงยนในบริบทของสังคมไทย
                                                    ื
                                                                              ั
                             ประเทศไทยในระยะที่ผ่านมาในอดีตถึงช่วงก่อนแผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 9
                     การเติบโตของประเทศมุ่งเน้นทางด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก ท าให้เกิดความไม่สมดุลของการใช้ทุน
                                                                                                         ั
                                                                                      ุ
                     ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของประเทศ ซึ่งความไม่สมดุลนี้กลับกลายเป็นอปสรรคในบริบทการพฒนา
                                                       ิ
                     ประเทศในระยะถัดมา อาทิ การก่อมลพษ การขาดประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การบริโภคอย่างไม่ยั่งยืน
                     ซึ่งต่อมาส านักงานคณะกรรมการพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้พฒนากรอบแนวคิดในการจัดท า
                                                  ั
                                                                                   ั
                     ตัวชี้วัดการพฒนาที่ยั่งยืนของไทย ได้ข้อสรุปว่า ตัวชี้วัดต้องมุ่งวัดการพฒนาทั้ง 3 มิติ ได้แก่ เศรษฐกิจ
                                 ั
                                                                                  ั
                     สังคม และสิ่งแวดล้อม อย่างมีดุลยภาพผสมผสานเข้ากับกลไกของความยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ
                                                           ั
                     คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพฒนาโลก ที่ค านึงถึงผลการพฒนาที่เกิดขึ้นทั้งในปัจจุบันและ
                                                                                   ั
                                                                  ั
                     อนาคต การพัฒนาอย่างยั่งยืนในบริบทไทย เป็นการพฒนาที่ต้องค านึงถึงความเป็นองค์รวมของทุก ๆ ด้าน
                     อย่างสมดุล บนพนฐานของทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทย ด้วยการมีส่วนร่วมของ
                                    ื้
                                            ื้
                                                                                ึ่
                                                                      ื่
                     ประชาชนทุกกลุ่ม ความเอออาทรเคารพซึ่งกันและกัน เพอสามารถพงตนเองและคุณภาพชีวิตที่ดีอย่าง
                                                                                         ั
                     เท่าเทียมกัน (คณะอนุกรรมการก ากับการอนุวัตตามแผนปฏิบัติการ 21 และการพฒนาอย่างยั่งยืนร่วมกับ
                     สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย)
                             แนวคิดการพฒนาอย่างยั่งยืนในบริบทของสังคมไทยนั้น เป็นที่รู้จักมานานแล้ว ตามแนวคิด
                                        ั
                                                                       ื้
                                             ี
                     “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง” ซึ่งเป็นปรัชญาน าทางให้เออต่อการเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการ
                                                                               ี
                     ประเทศเพอน าไปสู่ความยั่งยืน ซึ่งนอกจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยงแล้ว ยังมีนักวิชาการหลายท่าน
                               ื่
                                               ั
                                                                             ุ
                     พยายามอธิบายแนวคิดการพฒนาอย่างยั่งยืนตามแนวคิดเชิงพทธศาสตร์ (ประยุทธ ปยุตโต, 2541)
                     ได้อธิบายการพฒนาอย่างยั่งยืนว่า “การพฒนาอย่างยั่งยืนมีลักษณะที่เป็นบูรณาการ (Integrated) คือ
                                   ั
                                                          ั
                     ท าให้เกิดเป็นองค์รวม (Holistic) หมายความว่า องค์ประกอบทั้งหลายที่เกี่ยวข้องจะต้องมาประสานกัน
                     ครบองค์ และมีลักษณะอกอย่างหนึ่งคือ มีดุลยภาพ (Balance) หรือพดอกนัยหนึ่งคือ การท าให้กิจกรรม
                                                                                ู
                                           ี
                                                                                   ี
                     ของมนุษย์สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ”
                               1) การพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                               เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงชี้ถึงแนวทางการด าเนินชีวิตของ
                     ประชาชนในทุกระดับ ไม่ว่าจะในระดับครอบครัว ชุมชน หรือรัฐ ในการปฏิบัติงานหรือบริหารพฒนา
                                                                                                        ั
                                                                               ื้
                     ประเทศให้ด าเนินไปในทางสายกลาง มีความพอประมาณ ตั้งอยู่บนพนฐานของความไม่ประมาท มีเหตุผล
                                                              ั
                     และสร้างระบบภูมิคุ้มกันต่อผลกระทบต่าง ๆ อนอาจจะเกิดขึ้นจากภายนอกและภายในอย่างรอบคอบ
                     ในขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพนฐานจิตใจของคนให้มีความส านึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ และความ
                                                  ื้
                     รอบรู้ที่เหมาะสมการด าเนินชีวิต ควรใช้ความอดทน ความเพยร มีสติปัญญา พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
                                                                        ี
                     จากสภาพแวดล้อม และวัฒนธรรมโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี การด ารงชีวิต และปฏิบัติตนมุ่งเน้นการ
                     อยู่รอดปลอดภัย และวิกฤต สร้างความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา

                               ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ ดังนี้
                               - ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน
                     ตนเองและผู้อน เช่น การผลิตและการบริโภคอยู่ในระดับพอประมาณ
                                 ื่
                                                                                           ี
                               - ความมเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพยงนั้น จะต้องเป็นไป
                                       ี
                     อย่างมีเหตุผล โดยพจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค านึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ
                                       ิ
                     กระท านั้น ๆ อย่างรอบคอบ
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31