Page 24 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 24
บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 13
ื่
ั
ฯลฯ) อย่างไรก็ตาม เพอป้องกันไม่ให้เกิดภาวะโลกร้อนที่รุนแรงอนมีสาเหตุจากมนุษย์ เราจ าเป็นต้อง
จัดการกับสาเหตุหลัก นั่นคือ การเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากอุตสาหกรรรม
ออกสู่บรรยากาศ ช่วยปกป้องผืนป่าโบราณโดยการซื้อไม้ที่ได้รับการรับรองจากสภาพทักษ์ป่าไม้ (Forest
ิ
Stewardship Council: FSC) และผลิตภัณฑ์ที่น าวัสดุหลังการบริโภคกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งจะท าให้เรารักษา
ถิ่นที่อยู่อาศัยที่ส าคัญต่อสัตว์ป่าและพรรณพืช และช่วยปกป้องภูมิอากาศในเวลาเดียวกัน
นอกจากนี้ ยังมีปัญหาสิ่งแวดล้อมอกหลายประการที่เกิดจากการกระท าของมนุษย์ เช่น มลภาวะ
ี
ทางดิน หมายถึงการที่ดินเกิดความเสียหายจากการกระท าของมนุษย์เอง ส่วนใหญ่มักจะเป็นกิจกรรม
ทางการเกษตร ได้แก่ การใช้ยาฆ่าแมลง การใช้ปุ๋ยเคมี หรือการปลูกพช โดยไม่มีการบ ารุงรักษาดิน
ื
นอกจากนี้ยังมีสาเหตุมาจากน้ าเสียหรือการทิ้งฝังขยะมูลฝอย มลภาวะทางเสียง เป็นลักษณะของเสียงที่ดัง
มากจนเกินไป ท าให้เกิดความร าคาญหรือบางทีอาจเป็นอนตรายต่อหู เสียงเหล่านี้เกิดจากยานพาหนะ
ั
เสียงเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น
1.2 แนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Concept)
คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิ่งแวดล้อมกับการพฒนาโลก (World Commission on Environment
ั
ั
ั
and Development) ได้ให้ความหมายของการพฒนาแบบยั่งยืนว่า หมายถึง “การพฒนาที่สนองตอบ
ต่อความต้องการของคนในรุ่นปัจจุบัน โดยไม่กระทบกระเทือนความสามารถของคนรุ่นต่อไป ในการที่จะ
สนองตอบความต้องการของตนเอง”
“Sustainable development is a development which meets the needs of the
present generation without compromising the ability of future generations to
meet their own needs”
UNWTO
การพฒนาแบบยั่งยืน ตามความหมายดังกล่าวประกอบด้วยแนวคิดอย่างน้อย 3 ประการ คือ
ั
ประการแรก เป็นแนวคิดเกี่ยวกับความต้องการของมนุษย์ ประการที่สอง เป็นแนวคิดเกี่ยวกับขีดจ ากัด
และประการที่สาม เป็นแนวคิดเกี่ยวกับความยุติธรรมในสังคม
ั
แนวคิดประการแรก การพฒนาแบบยั่งยืน ค านึงถึงแนวคิดเกี่ยวกับความต้องการของมนุษย์
ื้
ซึ่งอาจเป็นความต้องการพนฐานในการด ารงชีวิต เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค การมี
งานท า และความต้องการที่จะมีมาตรฐานความเป็นอยู่ที่ดีกว่าเดิม ความต้องการทั้ง 2 ประการนั้น
ล้วนต้องอาศัยการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวคิดประการที่สอง เกี่ยวกับขีดจ ากัดของสิ่งแวดล้อมจะท าหน้าที่อย่างน้อย 2 ประการ คือ
1) เป็นผู้ให้ทรัพยากรแก่กระบวนการพัฒนา
2) เป็นที่รองรับของเสียจากกระบวนการพัฒนาระบบสภาพแวดล้อมมีขีดจ ากัด
ในการใช้ทรัพยากร และมีขีดจ ากัดในการรองรับของเสียในกระบวนการพฒนา ย่อมจะต้องน าเอา
ั
ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมมาใช้ประโยชน์ และเมื่อมีการพฒนาจะต้องมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางกายและ
ั
ชีวภาพเกิดขึ้นมากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่ระดับเทคโนโลยีที่ใช้ แล้วแต่อตราและปริมาณการใช้ประโยชน์
ั
จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แล้วแต่ความสามารถในการบริหารจัดการกับผลกระทบต่อ
ั
สิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้น การพฒนาแบบยั่งยืนจะต้องไม่กระทบต่อความสามารถของคนรุ่นต่อ ๆ ไป ที่จะ