Page 19 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 19
บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน 8
แหล่งก าเนิดมลพิษทางอากาศที่ส าคัญของประเทศไทยแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้
1) แหล่งก าเนิดจากยานพาหนะ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของประเทศจาก
ุ
ภาคเกษตรกรรมมาเป็นภาคอตสาหกรรม ท าให้กรุงเทพมหานครซึ่งเป็นศูนย์กลางของแหล่งธุรกิจและ
ความเจริญมีจ านวนประชากรเพมขึ้นอย่างรวดเร็ว ท าให้เกิดความต้องการในการเดินทาง และการขนส่ง
ิ่
มากยิ่งขึ้น ส่งผลให้เกิดปัญหาจราจรติดขัดเข้าขั้นวิกฤต และนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ
การจราจรที่ติดขัดท าให้รถเคลื่อนตัวได้ด้วยความเร็วต่ า มีการหยุดและออกตัวบ่อยครั้งขึ้น น้ ามันถูก
เผาผลาญมากขึ้น การสันดาปของน้ ามันเชื้อเพลิงไม่สมบูรณ์ และมีการระบายสารมลพษทางท่อไอเสีย
ิ
ในสัดส่วนที่เพมมากขึ้น ดังนั้นบริเวณที่ใกล้ถนนที่มีการจราจรติดขัดจะมีปัญหามลพษทางอากาศที่รุนแรง
ิ
ิ่
ิ
กว่าในบริเวณที่มีการจราจรคล่องตัว สารมลพษที่ระบายเข้าสู่บรรยากาศที่เกิดจากการคมนาคมขนส่ง
ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ฝุ่นละออง
ขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน สารตะกั่ว และก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
2) แหล่งก าเนิดจากโรงงานอตสาหกรรม มลพษทางอากาศจากแหล่งก าเนิดอตสาหกรรม
ุ
ุ
ิ
เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง และกระบวนการผลิตซึ่งเป็นตัวการส าคัญที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพ
อากาศในบรรยากาศ และอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชนโดยทั่วไป หรือ
ก่อให้เกิดความเดือดร้อนร าคาญ เชื้อเพลิงที่ใช้ส าหรับอตสาหกรรมมีอยู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ
ุ
เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็ง เชื้อเพลิงที่เป็นของเหลว ได้แก่ น้ ามันเตา และน้ ามันดีเซล เชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซ
่
ได้แก ก๊าซธรรมชาติ และก๊าซ LPG
แนวทางการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ
1. ก าหนดให้มีและบังคับใช้มาตรฐานคุณภาพอากาศ
2. ส ารวจและตรวจสอบคุณภาพอากาศจากแหล่งก าเนิดต่างๆ เป็นประจ า
ิ
3. ลดปริมาณมลพษทางอากาศจากแหล่งก าเนิดท าได้โดยการเปลี่ยนชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช้การ
ปรับปรุงกระบวนการผลิตการลดมลพิษจากยานพาหนะ
ิ
ื่
4. ใช้มาตรการทางกฎหมายเพอควบคุมมลพษทางอากาศตาม พรบ.สิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535
ิ
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 เช่น ประกาศเรื่องมาตรฐานการระบายมลพษประกาศเรื่องมาตรฐาน
คุณภาพอากาศในบรรยากาศ เป็นต้น
5. เผยแพร่ความรู้แก่ผู้ประกอบการและประชาชนได้รับทราบและเข้าใจเกี่ยวกับความส าคัญของ
ิ
อากาศบริสุทธิ์และอนตรายที่เกิดจากมลพษทางอากาศรวมถึงให้ทราบระเบียบกฎเกณฑ์มาตรฐานต่างๆที่
ั
ทางราชการก าหนดขึ้นเพื่อควบคุมมลพิษทางอากาศและเพอให้ประชาชนปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง
ื่
1.1.3 ปัญหาขยะมูลฝอย (Solid Waste)
ิ่
ขยะมูลฝอยนั้นนับวันจะเพมมากขึ้นตามจ านวนของประชากร ถ้าหากไม่มีการก าจัดขยะมูลฝอย
ให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว ปัญหาความสกปรกต่าง ๆ ที่เกิดจากขยะมูลฝอยจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน
ถ้ามองกันอย่างผิวเผินแล้ว ขยะมูลฝอยนั้นไม่ได้มีผลกระทบต่อมนุษย์มากนัก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ
ผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรงต่อมนุษย์ยังอยู่ในขั้นที่ไม่รุนแรงมากนัก ผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงไม่ชัดเจนเท่าไร
แต่ในความเป็นจริงแล้วขยะมูลฝอยจะก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมาก และจะมีผลกระทบ
ต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ด้วยทั้งโดยทางตรงและทางออมทั้งนี้เนื่องจาก
้
1) ขยะมูลฝอยเป็นแหล่งอาหาร และแหล่งเพาะพนธุ์ของแมลงน าโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ
ั
ยุง ฯลฯ และเป็นที่ซุกซ่อนของหนู และสัตว์อื่น ๆ
2) ขยะมูลฝอยท าให้เกิดกลิ่นเหม็น และก่อให้เกิดความร าคาญ