Page 15 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 15

บทที่ 1 กระบวนทัศน์ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน     4





                                                         ิ
                     ความแห้งแล้งทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น มลพษทางอากาศแผ่กระจายไปทั่วโลก การขาดแคลนน้ าดื่มน้ าใช้
                     และน้ าในการเกษตรเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง การเพมขึ้นของปริมาณขยะและสิ่งปฏิกูลตามบ้านเรือนชุมชน
                                                               ิ่
                     ดังจะเห็นได้จากในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพฯ เชียงใหม่ ได้เกิดปัญหาขยะล้นจนเกิดความสกปรก

                     ส่งกลิ่นเหม็นและเป็นที่น่ารังเกียจอยู่ทั่วไป
                             ความเสื่อมโทรมของคุณภาพสิ่งแวดล้อมดังกล่าว ล้วนเกิดขึ้นจากการมีสารพษที่เกิดขึ้นจาก
                                                                                                ิ
                                                                               ุ
                     กระบวนผลิตทางอตสาหกรรม ได้แก่ ควัน และน้ าเสียจากโรงงานอตสาหกรรม จากกระบวนการผลิต
                                      ุ
                                       ่
                     ทางการเกษตร ได้แก การใช้ปุ๋ยและยาฆ่าแมลงในการเกษตร และจากพัฒนาทางเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบ
                     ข้างเคียงต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ควันเสียจากรถยนต์การแพร่กระจายของน้ ามันในสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะ
                     ในแหล่งน้ า ฯลฯ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ความเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างทางสังคม
                     อันได้แก่ ลักษณะนิสัยในการบริโภค และการใช้ทรัพยากรที่มีแนวโน้มการใช้ที่เพิ่มขึ้น และฟุ่มเฟือยมากขึ้น
                     การเปลี่ยนแปลงระบบการผลิตทั้งการเกษตรและอตสาหกรรมที่มุ่งการผลิตในเชิงพานิชย์มากกว่าการผลิต
                                                               ุ
                     เพอการมีกินมีใช้ในครัวเรือน การพฒนาระบบการคมนาคมและการสื่อสารที่สะดวกและรวดเร็ว
                        ื่
                                                      ั
                     ท าให้การด ารงชีวิตต้องพงพงอยู่กับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการคมนาคมและสื่อสารมากยิ่งขึ้น
                                            ึ่
                                               ิ
                     ความเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมดังกล่าว ก็ล้วนเกิดขึ้นจากการถ่ายทอดทางวัฒนธรรม
                     จากประเทศตะวันตก เช่น ยุโรปและอเมริกา เป็นผลให้เกิดค่านิยมและวัฒนธรรมใหม่ ๆ ขึ้นในระบบ
                     เศรษฐกิจ และมาตรฐานของสังคมที่อางองอยู่กับเศรษฐกิจ และมาตรฐานของสังคมที่มีชาวตะวันตกเป็น
                                                        ิ
                                                     ้
                     ผู้ก าหนด ตลอดจนระบบการศึกษาที่เรียกว่าการศึกษาสมัยใหม่ก็ล้วนเร่ง หรือบ่อนท าลายทรัพยากร
                     แทบทั้งสิ้น
                             นอกจากความเสื่อมถอยของคุณภาพชีวิตและความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ได้เกิดขึ้นจากมูลเหตุ

                                         ิ่
                     ต่าง ๆ แล้วนั้น การเพมขึ้นของประชากรในทุกภูมิภาคของโลก ยิ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพ
                     ของสิ่งแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรมโดยตรง และยังได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชากร
                     เองอกด้วย ถึงแม้จะได้มีการกล่าวไว้ในนโยบายทางเศรษฐกิจสังคม และนโยบายของรัฐบาลเสมอมาว่า
                          ี
                                                                                             ิ
                            ั
                     จะมุ่งพฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และบ ารุงรักษาวัฒนธรรมไปด้วยก็ตาม แต่หากพจารณาจากระบบ
                     เศรษฐกิจที่ด าเนินอยู่ในปัจจุบัน และทิศทางในอนาคตแล้วจะเห็นว่าไม่สามารถท าให้สิ่งแวดล้อมด ารงอยู่
                                           ่
                     อย่างมีคุณภาพเพียงพอแกการด ารงชีวิตที่มีคุณภาพได้ ปัญหาสิ่งแวดล้อมดังกล่าว หากยังไม่ได้รับการแก้ไข
                     ก็มีแต่จะท าให้คุณภาพชีวิตของผู้คนเสื่อมถอยลง ดังนั้นประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อมจึงเป็นพนธกิจร่วมของ
                                                                                                ั
                     ประชากรโลก มิใช่ความรับผิดชอบของคนชาติสัญชาติใดหรือเชื้อชาติใดเชื้อชาติหนึ่ง
                             จากข้างต้น สามารถสรุปสาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ดังแผนภาพต่อไปนี้
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20