Page 98 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 98
บทที่ 5 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานมรดกวัฒนธรรม 87
5.4.4 การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในประเทศไทย
ในประเทศไทยเองก็มีการศึกษาเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เช่น งานศึกษาของสาธิญา
ิ
ั
รุ่งพพฒนพงศ์ (2557) ที่ศึกษาองค์ประกอบของความยั่งยืน ส าหรับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในบริเวณ
ั
ชุมชนอมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ผ่านการสัมภาษณ์ตัวแทนหน่วยงานด้านการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว
ั
ผู้ประกอบการ และสมาชิกของชุมชน พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับองค์ประกอบการพฒนาการท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืนของ UNWTO และ UNEP ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบที่จะท าให้เกิดการท่องเที่ยวอย่าง
ยั่งยืนประกอบด้วย 5 ประเภท ซึ่งสรุปได้ว่า 1) นักท่องเที่ยวหัวใจสร้างสรรค์ เช่น มีความสนใจในกิจกรรม
มีจิตส านึก และความรับผิดชอบต่อการกระท าที่ส่งผลต่อชุมชน 2) เจ้าบ้านเข้มแข็งและสร้างสรรค์ คือ
ต้องมีความรับรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการท่องเที่ยว มีความภาคภูมิใจ หรือมีการรวมตัวกันเป็น
เครือข่าย 3) กิจกรรมและปฏิสัมพนธ์แท้จริง ไม่จัดสร้าง กล่าวคือ ต้องเป็นกิจกรรมดั้งเดิมของวิถีชีวิต
ั
ในชุมชน ไม่ใช่การจัดฉาก หรือหวังผลเชิงพาณิชย์ 4) กระบวนการควบคุมภายในที่เข้มแขงและครอบคลุม
็
ั
อนเกิดจากการตกลงร่วมกันในชุมชน มีบทลงโทษส าหรับนักท่องเที่ยว สมาชิก ผู้ประกอบการ และ
นักลงทุนภายนอก รวมถึงมีการจัดการทรัพยากรของชุมชนอย่างเท่าเทียม 5) ประโยชน์เข้าถึงอย่างเท่าเทียม
คือต้องก่อให้เกิดผลได้กับสมาชิกที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของชุมชน และต้อง
ไม่ท าให้เกิดผู้ที่รู้สึกเสียประโยชน์
เช่นเดียวกับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในต่างประเทศ การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
ในประเทศไทยก็ใช้มรดกวัฒนธรรม ทั้งที่เป็นสินทรัพย์ที่จับต้องได้ (Tangible Asset) เช่น แหล่งท่องเที่ยว
เชิงประวัติศาสตร์ แหล่งโบราณคดี ดนตรี การละเล่น อาหาร หัตกรรม งานศิลปะ และ สินทรัพย์ที่จับต้อง
ไม่ได้ (Intangible Asset) เช่น ภูมิปัญญา ความเชื่อ วิถีชีวิต ซึ่งจะขอยกตัวอย่าง ดังต่อไปนี้
การท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่น
นับว่าเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการท่องเที่ยวสร้างสรรค์ การพฒนารูปแบบการท่องเที่ยวจึงจ าเป็น
ั
ต้องมีกระบวนการจัดการวัฒนธรรมเพอการท่องเที่ยว (Creative Tourism and Cultural Development)
ื่
ื่
ั
โดยมีวัตถุประสงค์เพอพฒนารูปแบบการสื่อความหมายของวัฒนธรรมของท้องถิ่นให้สามารถถ่ายทอด
ั
ื้
คุณค่าและมีความหมายทางสัญลักษณ์ อนบ่งบอกถึงความเป็นเอกลักษณ์ที่ต่างกันออกไปของแต่ละพนที่
ซึ่งเป็นทรัพยากรส าคัญทางการท่องเที่ยว โดยวัฒนธรรมสามารถสร้างรายได้ให้กับการท่องเที่ยว
ื
ในขณะเดียวกัน การท่องเที่ยวก็ถูกน ามาใช้เป็นเครื่องมอในการสืบทอดวัฒนธรรมให้คงอยู่
ุ
ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความอดมสมบูรณ์ทางวัฒนธรรมมาแต่โบราณ มีความ
ั
หลากหลายของชาติพนธุ์ เป็นศูนย์กลางทางการค้าของภูมิภาค มีการติดต่อสื่อสารกับชาวต่างชาติ และ
ด้วยอปนิสัยของคนไทยที่เป็นคนเปิดกว้าง เรียนรู้ ท าให้เราสามารถหล่อหลอมวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามา
ุ
เป็นส่วนหนึ่ง ประเทศไทยจึงมีมิติที่ลึกซึ้งทางวัฒนธรรม ที่สามารถสืบค้นวิวัฒนาการจากวัฒนธรรมดั้งเดิม
ที่ปรากฏเพียงแค่กลุ่มเล็ก ๆ ไปสู่วัฒนธรรมผสมที่มีรากร่วมกันอยู่ ยกตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมดั้งเดิมจะเห็น
ั
ได้จากตุ๊กตาสังคโลก หรือตุ๊กตาดินเผาสมัยสุโขทย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏเป็นตุ๊กตาแม่อมลูก
ุ้
เปลือยอก นุ่งผ้าถุงลายดอก ที่ใบหน้ามีก้อนกลม ๆ ติดอยู่ที่แก้ม สื่อถึงการเลี้ยงดูบุตร การแต่งกาย และ
การเคี้ยวหมาก และปรากฏเป็นตุ๊กตาชาวจีน สื่อถึงประวัติศาสตร์การค้าขายร่วมกันกับชาวจีน และการเข้ามา
ตั้งถิ่นฐานของชาวจีนก่อนจะเป็นสยามประเทศ
การจัดการการการท่องเที่ยวที่ปรับเข้าสู่การท่องเที่ยวสร้างสรรค์นั้น ต้องอาศัยความเข้มแข็งของ
ของชุมชน โดยชุมชนจะมงเน้นน าเสนอรูปแบบของกจกรรม (Cultural Activity) ที่มีความหลากหลาย เช่น
ุ่
ิ
ิ
ิ
ื้
ั
การชมการละเล่น การร้องเพลง การฟงดนตรีพนเมือง การชมภาพเขียน จิตรกรรม การน าชมพพธภัณฑ์