Page 99 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 99
บทที่ 5 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานมรดกวัฒนธรรม 88
ื้
ท้องถิ่น น าชมโบราณสถาน หรือการเปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวเข้าร่วมประเพณี พิธีกรรมพนบ้าน ซึ่งในแต่ละ
ภาคของประเทศนั้นมีเอกลักษณ์ ที่น าเสนอออกมาได้แตกต่างกันตามความแตกต่างของวัฒนธรรมพื้นบ้าน
คติความเชื่อ สิ่งศักด์สิทธิ์ เช่นประเพณีแต่งงาน ประเพณีบุญทางศาสนา ดังนั้น การอนุรักษ์วัฒนธรรมไมให้
่
ั
สูญหาย หรือถูกลืมเลือนไป จึงเป็นการก้าวไปข้างหน้า และเป็นก้าวย่างที่ส าคัญของการพฒนา
ั
การท่องเที่ยวในประเทศไทย เนื่องด้วยเพราะประเทศไทยมีความเป็นอตลักษณ์สูง (Authenticity) และ
สิ่งนี้คือสินค้าชิ้นเอกทางการท่องเที่ยว
ื่
ในปัจจุบัน นักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศจ านวนมากให้ความสนใจกับการท่องเที่ยวเพอ
การเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการได้รู้จักกับชุนชนในระดับที่ลึกกว่าการท่องเที่ยวทั่วไปในรูปแบบที่เคยชิน
โดยให้ความสนใจกับสินค้าทางวัฒนธรรม เพอให้ตนเองได้รับประสบการณ์ (Experience) ที่แปลกใหม่
ื่
ทั้งประสบการณ์ตรงที่สามารถจับต้องได้และประสบการณ์ที่ท าให้เกิดการรับรู้ แต่ไม่สามารถจับต้องได้
ี
ั
ื่
ฉะนั้น การจัดการวัฒนธรรมจึงเป็นอกหนึ่งเป้าหมายของการพฒนาการท่องเที่ยวในประเทศไทย เพอให้
เกิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่งนับเป็นส่วนส าคัญและเป็นปัจจัยหนึ่งของความส าเร็จในการสร้างคุณค่า
ความทรงจ า ส าหรับทั้งนักท่องเที่ยวและชุมชนเอง
การท่องเที่ยวสร้างสรรค์เชิงวัฒนธรรม
ุ
ประเทศไทยนับเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความอดมสมบูรณ์ทางวัฒนธรรม เห็นได้จากประวัติศาสตร์
ั
ความเป็นมาที่ยาวนานของประเทศ การเปิดกว้างในการนับถือศาสนา ความหลากหลายทางชาติพนธุ์
ศิลปวัฒนธรรมประจ าชาติที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะในแต่ละพนถิ่น เกิดการเปลี่ยนแปลง ผสมผสาน หล่อ
ื้
ั
หลอม พฒนาตามกาลเวลา กระทั่งประยุกต์ร่วมกับวัฒนธรรมทั้งข้างถิ่นและข้ามถิ่น ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึง
ความรุ่งเรืองทางด้านวัฒนธรรมในแผ่นดินไทยที่มีการสืบสานผ่านกาลเวลามาอย่างยาวนาน ประเทศไทย
จึงนับได้ว่าเป็นประเทศหนึ่งที่เต็มไปด้วยต้นทุนทางวัฒนธรรม (Cultural Capital) ไม่น้อยกว่าประเทศใด
ในโลก
ความเข้มแข็งของวัฒนธรรมและการจัดการวัฒนธรรม เป็นสิ่งบ่งชี้ที่ส าคัญถึงความยั่งยืนของ
การพฒนา เมื่อกระแสการพฒนาประเทศด้วยนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ได้ถูก
ั
ั
น ามาก าหนดเป็นวิสัยทัศน์ของการพฒนาประเทศ จึงถือเป็นจังหวะดีที่อตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิง
ั
ุ
สร้างสรรค์ในท้องถิ่นจะน าต้นทุนวัฒนธรรมที่มี มาเผยแพร่ให้กว้างขวางออกไปในรูปแบบของการท่องเที่ยว
วัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ (Creative Cultural Tourism) การจัดการการท่องเที่ยวในรูปแบบนี้ ต้องอาศัย
ความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ทั้งในส่วนขององค์ความรู้ตามหลักฐานที่ปรากฏ การสืบทอดให้คงอยู่และ
การด าเนินต่อไป โดยชุมชนจะเป็นผู้แสดงให้เห็นว่าชุมชนสามารถอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมต่อไปได้
การสร้างสรรค์การท่องเที่ยวโดยวางอยู่บนพนฐานของคุณค่าทางวัฒนธรรมของท้องถิ่นหรือทุน
ื้
ทางวัฒนธรรม สามารถท าได้โดยหยิบยกเรื่องราวจากประวัติศาสตร์ ศิลปะท้องถิ่น ดนตรีพื้นบ้าน วิถีความ
ื่
เป็นชุมชน วรรณกรรม สถาปัตยกรรม หัตถกรรม ความงดงามของฝีมือช่าง และอน ๆ มาจัดการให้เกิด
ความน่าสนใจสอดคล้องตามคุณค่าของชุมชนหรือเมือง ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้รับ
ประสบการณ์ตรงผ่านการเรียนรู้ผ่านทางการท่องเที่ยว เป็นต้นว่าการได้ใช้ชีวิตร่วมกับชาวบ้านอย่างแท้จริง
ไม่ใช่เป็นการแสดงหรือเป็นสร้างขึ้นมา เช่น นักท่องเที่ยวมาท่องเที่ยวและมาสัมผัสกับวิถีชีวิตของการเป็น
ชาวนา ได้มีโอกาสที่ร่วมท านากับชาวบ้านที่ยังคงรักษาชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย หรือการที่นักทองเที่ยว
่
ั
ได้มีโอกาสมาพกโฮมเสตย์ในชุมชน พร้อมกับได้เรียนรู้วิธีการประกอบอาหารท้องถิ่น เรียนรู้วิธีการท า
ขนมไทย เป็นต้น