Page 104 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 104

บทที่ 6 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพิเศษ    93




                                                             บทที่ 6

                                      การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพิเศษ

                                (Sustainable Tourism-Special Interest Tourism)



                     บทน า
                             เนื้อหาในบทนี้ ยังคงมุ่งน าเสนอรูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนซึ่งแบ่งออกตามประเภทของ
                     การท่องเที่ยว กล่าวคือ การท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ (Natural-Based Tourism)

                     การท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural-Based Tourism หรือ Man Made Tourism)
                     และการท่องเที่ยวตามความสนใจพเศษ (Special Interest Tourism) ซึ่งผู้เขียนได้ประยุกต์แนวคิดนี้
                                                    ิ
                     มาจัดแบ่งประเภทของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 3 รูปแบบ โดยในบทที่ 4 ได้น าเสนอรูปแบบการท่องเที่ยว

                     อย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาติ และบทที่ 5 เป็นการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานมรดกวัฒนธรรม
                     และในบทนี้ จะเป็นการน าเสนอการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพเศษ กล่าวคือ เป็นรูปแบบหรือ
                                                                                   ิ
                     กิจกรรมการท่องเที่ยวที่พจารณาจากความสนใจของนักท่องเที่ยวเป็นหลัก ซึ่งกิจกรรมการท่องเที่ยว
                                            ิ
                     อาจเกิดขึ้นได้ทั้งในพนที่ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ เชิงวัฒนธรรม หรือในหน่วยที่เป็นธุรกิจ
                                        ื้
                     การท่องเที่ยวและการบริการ ผู้เขียนจะเลือกน าเสนอรูปแบบการท่องเที่ยว 4 ประเภท ที่เป็นที่รู้จักและ

                     มีความส าคัญต่ออตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการไทย ได้แก่ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
                                      ุ
                     การท่องเที่ยวแบบไร้ความเร่งรีบ การท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ และการท่องเที่ยวเชิงจิตอาสา


                     6.1 การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Health Tourism)
                             การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ (Wellness Tourism) ของประเทศไทยไดรับความนิยมเพมมากขึ้น
                                                                                                     ิ่
                     ตามกระแสการรักษาดูแลสุขภาพ กอปรกับจุดแข็งของประเทศที่มีทรัพยากรการทองเที่ยวตามธรรมชาติ
                     อาหารไทย สมุนไพร การแพทยแผนไทย กีฬาทองถิ่น ศาสนา ตลอดจนการต้อนรับด้วยมิตรไมตรีของ
                     คนไทย นอกจากนี้ ชื่อเสียงด้านคุณภาพและมาตรฐานการบริการในระดับสากล ยังเป็นปัจจัยส าคัญ
                     ที่สร้างความสามารถทางการแข่งขันให้กับอตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและท าให้ประเทศไทย
                                                          ุ
                     กลายเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของโลก ข้อมูลจาก Kasikorn Research

                                             ่
                     Center (2012) พบวา มีนักทองเที่ยวชาวตางชาติที่เดินทางเขา มารับบริการด้านสุขภาพเฉลี่ย 1.2 ล้านคน
                     ตอปี สามารถสร้างรายได้ไม่ต่ ากว่า 100,000 ล้านบาท
                             องค์การอนามัยโลก (World Health Organization หรือ WHO) ได้ให้ค าจ ากัดความของค าว่า

                     “สุขภาพ” (Health) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948 ว่า เป็นเรื่องที่มิได้จ ากัดอยู่แค่ความปราศจากโรคทางกาย
                                                                        ์
                     แต่ยังเน้นย ้าถึงภาวะการด ารงอยู่ที่ดี ในแง่มุมทางด้านอารมณและสังคมรวมด้วย ซึ่งการนิยามค าว่าสุขภาพ
                                                      ั
                     เช่นนี้ ได้ถูกยึดถือเป็นแนวทางในการพฒนางานสุขภาพด้านการปรับสมดุลกาย-ใจ ในช่วงกลางศตวรรษที่
                     20 แม้ว่าความคิดเรื่องการปรับสมดุลกาย-ใจจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับแต่ละภูมิภาค แต่มีแนวทาง

                     ที่คล้ายคลึงกัน คือ การปรับสมดุลกาย-ใจมีทิศทางที่หลากหลาย (Multi-dimensional) จะต้องกระท า
                     แบบองค์รวม (Holistic) มีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาอย่างต่อเนื่อง การรักษาสุขภาพจึงเป็นเรื่อง
                                                       ิ
                     ปัจเจกบุคคล แต่ขณะเดียวกันก็ได้รับอทธิพลจากสภาพแวดล้อม และเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องมีส่วนร่วม
                     รับผิดชอบ
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109