Page 106 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 106
บทที่ 6 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพิเศษ 95
ภาพที่ 6.1 ความสัมพันธ์ระหว่างการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพและการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์
ที่มา: Micheal (2011, p. 8)
จากแผนภาพข้างต้น จะเห็นได้ว่า การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ (Medical Tourism) ที่เน้นการรักษาอาการเจ็บป่วยด้วยความเชี่ยวชาญของ
บุคลากรและเทคโนโลยีทางการแพทย์ และการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพ (Wellness Tourism) ที่เน้น
การป้องกัน และการส่งเสริมสุขภาพให้ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม กิจกรรมการดูแลรักษาสุขภาพบางประเภท
สามารถเป็นได้ทั้งการรักษาการเจ็บป่วย และป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งจะเห็นจากแผนภาพของ
Hall ว่ามีส่วนที่คาบเกี่ยวกัน เช่น Dental Tourism และ Cosmetic Surgery ซึ่งต่อมามีชื่อเรียกว่า
Medical Wellness Tourism
6.1.2 สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทย
เศรษฐกิจเชิงสุขภาพ (Wellness Economy) นั้นมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว โดยพบว่ามีขนาด
ประมาณ 3.4 ล้านล้านดอลลารสหรัฐฯ ส่งผลให้เกิดการขยายตัวสู่ธุรกิจที่เกี่ยวข้องทั้งทางตรงและ
ทางออม อาทิ น้ าพรอน ธุรกิจสงเสริมความงามและการชะลอวัย (Beauty and Anti-Aging) รวมถึงการ
ุ
้
ื่
ออกก าลังกายเพอดูแลรักษารางกาย (Fitness and Mind-Body) เปนตน จากการวิเคราะหสถานการณ
ความตองการของธุรกิจบริการ (Demand Analysis) โดยรวม พบวามีแนวโนมความตองการที่เพมสูงขึ้น
ิ่
ตามลักษณะอายุเฉลี่ยของประชากรโลก ที่เพมขึ้นจากอายุเฉลี่ยที่ 48 ปี ในปี ค.ศ. 1955 เป็น 67 ปี
ิ่
ั
ในปี พ.ศ. 2547 กอปรกับจ านวนประชากรโลก ที่มีอตราการเติบโตสูงขึ้นอยางตอเนื่อง โดยคาดการณวา