Page 105 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 105
บทที่ 6 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพิเศษ 94
6.1.1 นิยามการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับนิยามของการท่องเที่ยวสุขภาพ สามารถสรุปได้ว่า นิยามหรือ
ความหมายส่วนใหญ่จะกล่าวถึง กิจกรรมทางการทองเที่ยว ที่เกี่ยวเนื่องกับการดูแลรักษาสุขภาพ โดยไดรับ
ั
การบริการเชิงสุขภาพ (Wellness Services) อนหมายถึง การใหบริการที่สงผลใหเกิดความผาสุข (Wellness)
ื่
ื่
อาทิ การออกก าลังกายเพอสุขภาพ การรับประทานอาหารเพอสุขภาพ การนวดหรือประคบสมุนไพร
เพื่อสุขภาพ รวมถึงโปรแกรมการลดน ้าหนัก การฝึกโยคะ ไทเกก และการท าสมาธิ นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรม
การใหบริการเชิงสุขภาพ เพอใหนักทองเที่ยวมีสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจแข็งแรงสมบูรณอาศัย
ื่
ผูใหบริการ (Wellness Manual Therapist) หรือพนักงานผูใหบริการโดยตรง อาทิ การนวดแผนไทย
การนวดเทา การนวดน ้ามัน การนวดกดจุด การขัดตัว การหอตัวและการพอกโคลน เปนตน สอดคลองกับ
การใหความหมายของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดย Sonthiruk (2010) ว่าการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
ื่
เป็นการเดินทางทองเที่ยวเพอหลีกหนีออกจากสิ่งที่ท าใหเกิดความทุกข์จากการใช้ชีวิตประจ าวัน ไปสู่
สถานที่ที่สงบสบายอันเป็นจุดหมายปลายทาง ในการ “ปรับสภาพ” หาความ “ลงตัว” ให้การด ารงอยู่ของ
ชีวิต ซึ่งจะเปนประสบการณการทองเที่ยว ที่นักทองเที่ยวไดรับผานกิจกรรมที่เกิดขึ้น ณ จุดหมายปลายทาง
ั
ท่องเที่ยว ซึ่งเป็นปจจัยที่ส าคัญ โดยสถานที่ทองเที่ยวแตละแหง จะตองท าการพฒนาใหสามารถรองรับ
ตอความตองการของนักท่องเที่ยว และสามารถตอบสนองตอความพึงพอใจของนักทองเที่ยวดวย
ี
จะเห็นได้ว่าความหมายของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพข้างต้น จะกล่าวถึงแต่เพยงกิจกรรมที่ส่งเสริม
ป้องกัน ฟนฟ ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม คือกาย-ใจ เป็นหลัก ความหมายข้างต้นมิได้กล่าวถึงการรักษา
ู
ื้
ร่างกายหรือการเจ็บป่วยด้วยเทคโนโลยีเชิงการแพทย์ ซึ่งแตกต่างจากความหมายเชิงสุขภาพ
ในต่างประเทศ โดยหนึ่งในความหมายหรือคุณลักษณะของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับการอางอง
ิ
้
มากที่สุด เกิดจากงานวิจัยของ Hall (2011, p. 8) ตามแผนภาพด้านล่าง ที่แสดงให้เห็นถึงการแบ่ง
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพออกเป็น 2 ประเภท โดยใช้จุดมุ่งหมายในการดูแลรักษาสุขภาพเป็นเกณฑ์
ื่
กล่าวคือ หากกิจกรรมเชิงสุขภาพใด มีจุดมุ่งหมายเพอการดูแลรักษาความเจ็บป่วย (Curative) ถือว่าเป็น
ื่
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ หากแต่กิจกรรมใดที่มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพ หรือดูแล หรือเพอ
ป้องกันความเจ็บป่วย (Promotive) ถือได้ว่าเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพ (Wellness
Tourism) อย่างไรก็ตาม ก็อาจมีกิจกรรมเชิงสุขภาพบางอย่าง ที่อาจคาบเกี่ยวกันระหว่างการดูแลรักษา
และการส่งเสริมสุขภาพหรือป้องกนความเจ็บป่วย (Preventive) เช่น ทันตกรรม ศัลยกรรมเสริมความงาม
ั
เป็นต้น