Page 109 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 109
บทที่ 6 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพิเศษ 98
- โรงพยาบาล (รัฐและเอกชน)
- สถานรักษาสุขภาพชุมชน
- สถาบันการศึกษาด้านการแพทย์แผนปัจจุบัน และการแพทย์ทางเลือก
- ร้านขายยาหรือผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
- บุคลากรด้านการแพทย์แผนปัจจุบัน และการแพทย์ทางเลือก
- บริการบ ารุงและศัลยกรรมความงาม บริการทันตกรรม บริการศัลยกรรมทั่วไป บริการการแพทย์
เฉพาะทาง
2) ทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพ ประกอบด้วยทรัพยากรการท่องเที่ยวประเภท
ต่าง ๆ ที่สามารถด าเนินกิจกรรมเชิงการดูแล ป้องกัน บ ารุง บ าบัดหรือส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ อาทิ
- ผู้เชี่ยวชาญด้านสมุนไพรรักษาโรค
ุ
- ทรัพยากรส่งเสริมสุขภาพทางธรรมชาติ ได้แก่ น้ าพร้อน ภูมิอากาศ ทิวทัศน์ เส้นทางเดินป่า
สวนสาธารณะ
- ทรัพยากรส่งเสริมสุขภาพสมัยใหม่ที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ บริการ Sauna and Solarium
ู
ื้
ิ
สปาอบไอน้ า บ่อน้ าวน กีฬา ฟตเนส กิจกรรมผจญภัยกลางแจ้ง สถานบ าบัดและฟนฟสุขภาพ บริการให้
ค าแนะน าทางจิตวิทยา โครงสร้างสาธารณูปโภคที่เหมาะแก่การอาบน้ า (Bathing infrastructure)
- ทรัพยากรส่งเสริมสุขภาพทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ได้แก่ โยคะ การนวด การนั่งสมาธิ
ื่
บริการอาหารเพอสุขภาพ กิจกรรมส่งเสริมจิตวิญญาณ ยาสมุนไพร การบ าบัดทางจิตวิญญาณด้วยศาสตร์
ั
ทางตะวันออก กิจกรรมทางวัฒนธรรมและการพกผ่อนหย่อนใจ (Cultural and leisure activities) เช่น
พิพิธภัณฑ์
- สถานที่ที่ให้บริการผ่อนคลายกายและใจ (Relaxation) เช่น ศูนย์ฝึกสมาธิ (Meditation Center)
จากข้างต้นจะเห็นได้ว่า ทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพครอบคลุมทั้งส่วนที่เป็นทรัพยากร
การท่องเที่ยวเชิงธรรม วัฒนธรรมและธุรกิจต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการเชิงสุขภาพ ดังนั้น หากเรา
ั
ี
กล่าวถึงการพฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จึงมิได้หมายถึงเพยงแต่ทรัพยากรการท่องเที่ยว
แต่หมายรวมถึงคุณภาพการให้บริการ บุคลากร และการบริหารจัดการของสถานประกอบการเชิงสุขภาพ
ด้วยเช่นกัน
6.1.4 ศักยภาพของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทย
ศักยภาพของการท่องเที่ยวเชิงการแพทย ์
นับตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา ประเทศไทยเป็นจุดหมายปลายทางที่ได้รับความนิยมเป็นล าดับต้น ๆ
ิ
ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟก การจัดบริการทางการแพทย์ที่มีชื่อเสียงและก้าวหน้าสู่มาตรฐานสากล
ื่
จนได้รับรายได้จากบริการสาขาสุขภาพและบริการอน ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าประเทศไม่ต่ ากว่า 1 แสนล้านบาท
ั
นอกจากนี้ ยังได้รับการจัดอนดับด้านความพร้อมในการให้บริการเชิงสุขภาพจากองค์การอนามัยโลก
ั
ั
(WHO) เป็นอนดับที่ 47 ของโลก หากเปรียบเทียบการจัดอนดับดังกล่าวกับประเทศคู่แข่งหลัก พบว่ า
ั
ี
ประเทศไทยเป็นรองเพยงประเทศสิงคโปร์ประเทศเดียว โดยสิงคโปร์ได้รับการจัดอนดับด้านความพร้อม
ในการให้บริการเชิงสุขภาพเป็นอนดับที่ 6 ของโลก ส่วนประเทศมาเลเซีย ประเทศเกาหลีใต้ และ
ั
ิ
ั
สาธารณรัฐอนเดียได้รับการจัดอนดับด้านความพร้อมในการให้บริการเชิงสุขภาพต่ ากว่าประเทศไทย
โดยอยู่ในอนดับที่ 49 อนดับที่ 58 และอนดับที่ 112 ตามล าดับ (Tourism Authority of Thailand,
ั
ั
ั
2016) รายงานข้อมูลพบว่า ในการเดินทางมาใช้บริการของผู้ป่วยชาวต่างชาติโดยส่วนใหญ่นิยมเลือกใช้
บริการของโรงพยาบาลที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพฯ และในจังหวัดท่องเที่ยวส าคัญเป็นหลักบริการรักษาพยาบาล