Page 111 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 111
บทที่ 6 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพิเศษ 100
ิ่
“ตัวบุคคล (Individual)” ก่อน ซึ่งต่อมา Ardell (1970) ได้ขยายความต่อจาก Dunne โดยเพมเติมค าว่า
“ความรับผิดชอบต่อตนเอง (Self-responsibility)” เข้าไป และอธิบายว่า ความรับผิดชอบต่อตนเองนั้น
เป็นแรงขับจากภายในที่ท าให้คนหันมาใส่ใจหรือตระหนักถึงความส าคัญของอาหารการกิน (Nutritional
Awareness) ความแข็งแกร่งของร่างกาย (Physical Fitness) การจัดการกับความเครียด (Stress
Management) และการใส่ใจต่อคุณภาพของสิ่งแวดล้อม (Environmental Sensivity) ถึงแม้นิยามของ
การส่งเสริมสุขภาพหรือการอยู่ดีมีสุข (Wellness) ก็ยังมีความหลากหลาย หากแต่มีคุณลักษณะร่วมคือ
ื่
ความเกี่ยวโยงกับ “ตัวบุคคล (Personal)” และ “การใช้ชีวิตร่วมกับคนอน (Social Life)” หนังสือเรื่อง
ิ
์
The Berkeley Wellness Letter พมพเมื่อปี ค.ศ. 1984 ได้บ่งชี้คุณลักษณะส าคัญ ได้แก่ 1) ร่างกาย
แข็งแรง 2) จิตใจและอารมณ์ดี 3) มีวิถีการด ารงชีพที่ป้องกัน ลด (บางครั้งอาจ) ขจัดความเจ็บป่วย
โดยเนื้อหาส่วนใหญ่ในหนังสือเล่มนี้เน้นการสร้างความรับผิดชอบของบุคคลต่อการสร้างทางเลือกให้กับ
ตนเองในการตัดสินใจเพื่อดูแลสุขภาพ อันจะท าให้บุคคลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
Didaskalou and Nastos (2003) กล่าวว่า Wellness Tourism เป็นหนึ่งในรูปแบบการท่องเที่ยว
ที่เก่าแก่ที่สุดอย่างหนึ่งของโลก โดยเริ่มตั้งแต่ยุคกรีกและโรมันที่ผู้คนต่างเสาะแสวงหาความสุขกายสบายใจ
(Well-being) โดยกิจกรรมการท่องเที่ยวในยุคแรก ๆ จะเป็นการเดินทางไปยังแหล่งบ่อน้ าพร้อน หรือ
ุ
ั
การอาบน้ าแร่ ซึ่งปัจจุบัน รูปแบบกิจกรรมของการส่งเสริมสุขภาพมีพฒนาการไปในทิศทางที่หลากหลาย
ื่
ทั้งนี้เพอตอบสนองต่อความต้องการในการดูแลสุขภาพของมนุษย์ที่เติบโตสูงขึ้น อาทิ มีการศึกษาเกี่ยวกับ
รูปแบบการด าเนินชีวิตเชิงสุขภาพ (Healthy Lifestyle Education) การให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับอาหาร
เพื่อรักษาสุขภาพ การแพทย์เชิงป้องกัน (preventative medicine) การรักษาความเครียดหรือความหดหู่
การรักษาสุขภาพใจ เป็นต้น โดยเฉพาะในเรื่องของสปา ที่ปัจจุบันได้รับความนิยมอย่างสูง เนื่องจาก
ั
เป็นรูปแบบการบริการสุขภาพที่สร้างการพกผ่อนและความรู้สึกผ่อนคลายได้จริง ซึ่งสามารถกระท าได้
ั
ั
ในช่วงวันหยุดหรือช่วงหยุดพกผ่อนในระยะเวลาอนสั้น นอกจากนี้ Sweeney and Witmer (1991) ยังได้
กล่าวถึง “วงล้อแห่งสุขภาพดี (Wheel of wellness)” ว่า ประกอบด้วย 1) จิตวิญญาณ (Spiritual)
2) การมีวินัยกับตนเอง (Self- Regulation) 3) หน้าที่การงาน 4) ความรัก (Love) และ 5) มิตรภาพ
(Friendship) ทั้ง 5 ประการนี้ถูขับเคลื่อนด้วยพลวัตของปฏิสัมพนธ์ของคนในครอบครัว สังคม ศาสนา
ั
การศึกษา รัฐบาล สื่อมวลชน และภาคธุรกิจ
ในประเทศไทย การท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพ (Wellness Tourism) มีรูปแบบการจัดโปรแกรม
การทัวร์ที่มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพที่แตกต่างหลากหลาย เช่น
1. ทัวร์แพทย์แผนไทย เยี่ยมชมวัดโพธิ์ที่มีประวัติ ความเป็นมาที่มีชื่อเสียงเก่าแก่ ซึ่งได้รับยกย่อง
ว่าเป็นมหาวิทยาลัยเปิดแห่งแรกของประเทศไทย รับฟงการบรรยายสรุปและชมการสาธิตการนวดแผน
ั
โบราณเพื่อการรักษาโรค และการส่งเสริมสุขภาพ ตลอดจนเรียนรู้และฝึกปฏิบัติวิธีการนวดไทยแผนโบราณ
ื่
จากผู้ที่มีความสามารถ เปรียบเทียบวิธีการนวดแผนโบราณของประเทศไทยกับการนวดของประเทศอน ๆ
ของโลก
2. ทัวร์อาหารสมุนไพร เยี่ยมชมศูนย์เกษตรสมุนไพร สวนพฤกษศาสตร์สมุนไพร และศึกษาเรียนรู้
ิ
ความมหัศจรรย์แห่งภูมิปัญญาไทยที่สร้างสรรค์จรรโลงวัฒนธรรม ทางด้านอาหารสมุนไพรไร้พษที่มีแคลอรี
ื่
ต่ า และเครื่องดื่มสมุนไพรที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ การนวดแพทย์แผนไทยและอบสมุนไพรเพอบ าบัดรักษา
โรคและบ ารุงรักษาสุขภาพ รวมทั้งการฝึกปฏิบัติสมาธิแนวพทธศาสน์ / ฝึกโยคะ / ฝึกกายบริหารท่าฤาษี
ุ
ดัดตน และชมการสาธิตกระบวนการผลิต อาหารและเครื่องดื่มสมุนไพร