Page 116 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 116
บทที่ 6 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพิเศษ 105
4) การแสดงความเป็นมิตรของคนในชุมชน (Hospitality) หมายถึง สังคมในชุมชนอยู่กันแบบ
ี่
ครอบครัว ให้ความเคารพผู้ใหญ่ มีความรักใคร่กลมเกลียวกัน อยู่กันแบบพน้อง ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน
มีความปรารถนา หวังดี มีน้ าใจ ซื่อสัตย์ ไม่เอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน ท าให้ชุมชนมีความสุข
ิ
5) วถีชีวตของชุมชนเป็นแบบพึ่งพาธรรมชาติ (Origin) หมายถึง การใช้ทรัพยากรทาง
ิ
ธรรมชาติเป็นรากฐานส าคัญในการด ารงชีวิต เช่น การใช้พนที่บริเวณริมน้ า หรือบนแม่น้ าเป็นที่อยู่อาศัย
ื้
ื่
การใช้สายน้ าในการจัดประเพณีและการละล่น การผลิตปุ๋ยชีวภาพเพอการเกษตร การใช้แหล่งน้ าใน
การผลิตพลังงานกังหันลม การผลิตแก๊สจากมวลชีวภาพ เป็นต้น
6) การจัดการคุณภาพของแหล่งท่องเที่ยว (Supervision) หมายถึง ชุมชนก าหนดนโยบายและ
กฎเกณฑ์ร่วมกันในการออกแบบ ควบคุมการก่อสร้าง การปรับปรุงโครงสร้างพนฐานให้เหมาะกับบริบท
ื้
เช่น การวางระบบและเส้นทางคมนาคม การวางมาตรการการรักษาและป้องกันความปลอดภัย การส่งเสริม
สินค้าในท้องถิ่น การป้องกันและรักษาสิ่งแวดล้อม การให้ความรู้และความเต็มใจในการเป็นเจ้าบ้านที่ดี
ซึ่งคุณลักษณะข้างต้น สามารถน าไปใช้ในการประเมินความพร้อมหรือศักยภาพของแหล่ง
ั
ื่
ื่
ท่องเที่ยวเพอพฒนาหรือสร้างแบรนด์การเป็นเมืองการท่องเที่ยวแบบเนิบช้า เพอตอบสนองความต้องการ
ิ
ของนักท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่ม ที่มีความสนใจในการท่องเที่ยวพกผ่อนแบบพนิจพเคราะห์ใส่ใจ และพร้อม
ั
ิ
เรียนรู้ความเป็นมาของสถานที่ วัฒนธรรมชุมชน วิถีชีวิต ความเดิมแท้ของศิลปวัฒนธรรมของ
แหล่งท่องเที่ยว เพื่อเปิดโลกทัศน์ใหม่ ๆ ตลอดเส้นทาง จนเกิดเป็นประสบการณ์ความทรงจ าที่ไม่รู้ลืม
6.3 การท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ (Responsible Tourism)
การท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ (Responsible Tourism) หรือเราเรียกสั้น ๆ ว่า RT ได้รับการ
นิยามเป็นครั้งแรกในปี 2002 ในเวทีประชุม World Summit ว่าด้วยการพฒนาอย่างยั่งยืนที่เมือง Cape
ั
Town ประเทศแอฟริกาใต้ และน าประยุกต์ใช้ในงาน World Tourism Market (WTM) 2007 กรุงลอนดอน
ประเทศองกฤษ ความหมายของการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบกว้าง ๆ หมายถึง “ท าให้สถานที่น่าอยู่ขึ้น
ั
ทั้งเจ้าของบ้านและผู้มาเยือน ผู้ที่เกี่ยวข้องให้เกิดการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบได้ คือ ผู้ประกอบการธุรกิจ
ท่องเที่ยว ธุรกิจโรงแรมที่พัก หน่วยงานภาครัฐ ชุมชนท้องถิ่น และนักท่องเที่ยว โดยมีเป้าหมายเดียวกันคือ
เพื่อให้เกิดความยั่งยืน”
6.3.1 ลักษณะของการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ
การท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ หมายถึง การท่องเที่ยวที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบต่อสังคม
วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ในประเทศไทยที่มีความหลากหลาย ก่อให้เกิดประโยชน์องค์รวมต่อ
ั
ุ
ภาคอตสาหกรรมการท่องเที่ยว รวมทั้งมีการพฒนาและปลูกจิตส านึกอย่างรับผิดชอบร่วมกันทุกภาคส่วน
(สมาคมไทยท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ, 2016)
การท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ เป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน หากแต่มีความแตกต่าง
อยู่บ้างตรงที่ RT จะมุ่งเน้นไปที่ ภาคีที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว คือ ผู้คน ธุรกิจ หน่วยงานของรัฐ
ที่ช่วยกันสร้างให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากการท่องเที่ยวทั้ง 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
โดยให้มีผลกระทบน้อยที่สุด ทั้งนี้ต้องให้ความส าคัญกับความเป็นท้องถิ่น มีการด าเนินการที่โปร่งใส เพื่อใช้
การท่องเที่ยวน าไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ว่าโดยสรุป RT ต้องมีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน
สาระส าคัญของปฏิญญา Cape Town ของการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ ประกอบด้วย