Page 117 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 117
บทที่ 6 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพิเศษ 106
• การลดผลกระทบทางลบด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
• การสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่ส าคัญให้กับผู้คนในท้องถิ่น ส่งเสริมการคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับ
ชุมชนที่เป็นเจ้าของทรัพยากร
ั
• ชุมชนเข้ามาเกี่ยวข้องในการตัดสินใจต่อการพฒนาที่อาจจะส่งผลกระทบและเกิดการเปลี่ยนแปลง
ในชีวิต
• ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ มรดกทางวัฒนธรรม และรักษา
ความหลากหลายของโลกไว้ได้
• สร้างประสบการณ์ที่สนุกสนานและเพลิดเพลินให้กับนักท่องเที่ยวผ่านการมีปฏิสัมพนธ์กับ
ั
คนในท้องถิ่น เคารพต่อวัฒนธรรม วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของผู้คนในท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน
• ท าให้นักท่องเที่ยวทุกเพศ ทุกวัย ทุกสถานภาพ เข้าถึงการท่องเที่ยวได้
• สร้างความเข้าใจที่ดีต่อกันระหว่างนักท่องเที่ยวกับเจ้าของบ้าน โดยท าให้เกิดความภาคภูมิใจ
และมั่นใจในความเป็นท้องถิ่นตนเอง
ในประเทศไทย มีการกล่าวถึงการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบเมื่อไม่นานมานี้ โดยสมาคมไทย
ท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ (สททร.) เริ่มก่อตั้งจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในอตสาหกรรมการท่องเที่ยว ได้แก่
ุ
บริษัทน าเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร มัคคุเทศก์ ชุมชนท่องเที่ยว และหน่วยงานการศึกษา โดยทุกภาคส่วน
ได้มีความเชื่อมั่นว่าการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบนั้นสามารถสร้างผลกระทบทางบวก ให้กับทุกภาคส่วน
ในอตสาหกรรมการท่องเที่ยวภายใต้แนวความคิด “สร้างการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ด้วยการท่องเที่ยว
ุ
อย่างรับผิดชอบ”
6.3.2 การท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบในประเทศไทย
สมาคมไทยท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ (TRTA) มูลนิธิสถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน (CBT-i) และ
มูลนิธิเครือข่ายอนดามันเหนือ (NAN) ได้ร่วมกันพฒนาชุมชนท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบในประเทศไทย
ั
ั
ขึ้นมา 3 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนเขาเทพพทักษ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ชุมชนบ้านเมืองแพม จังหวัดแม่ฮองสอน
ิ
่
่
ั
ชุมชนบ้านผามอน จังหวัดแม่ฮองสอน โดยทั้ง 3 ชุมชน และ 3 หน่วยงานพฒนา มีการเชื่อมโยงกับ
ื่
Planeterra Foundation ที่น าแนวคิดเรื่องกิจการเพอสังคม (SE: Social Enterprise) มาใช้ต่อยอดกับ
ั
การพฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยการเชื่อมโยงชุมชนท่องเที่ยวเหล่านั้นไปให้ถึงตลาดนักท่องเที่ยว
ซึ่ง Planeterra Foundation ได้เข้าถึงกลุ่มตลาดที่ส าคัญคือบริษัท G Adventures ท าให้การพฒนานั้น
ั
เห็นผลกระทบเชิงบวกที่ตามมาได้อย่างเป็นรูปธรรม คือมีนักท่องเที่ยวที่มีความรับผิดชอบเดินทางเข้าไป
ท่องเที่ยวในชุมชน โดย G Adventures ท าหน้าที่ในการเชื่อมโยงนักท่องเที่ยวและชุมชนเข้าด้วยกัน
ชุมชนเขาพิทักษ ์
ั
ชุมชนเขาเทพพทักษ์เป็นการท างานพฒนาร่วมกันระหว่างสมาคมไทยท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ
ิ
ื่
(TRTA) และมูลนิธิเครือข่ายอนดามันเหนือ (NAN) ภายใต้แนวคิดธุรกิจเพอสังคม เพอเชื่อมต่อกับ
ื่
ั
ห่วงโซ่อุปทานการท่องเที่ยว 5 ด้าน คือ ที่พัก อาหาร กิจกรรมท่องเที่ยว การขนส่ง และของที่ระลึก โดยที่
ุ
ผู้ประกอบการสามารถน ารายได้จากภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวลงสู่ระดับชุมชนท้องถิ่นผ่านห่วงโซ่อปทาน
การท่องเที่ยว ซึ่งเป็นรูปแบบการท างานแบบมีส่วนร่วม และส่งเสริมทุนร่วมกันระหว่างชุมชนท้องถิ่น และ
ผู้ประกอบการ
ในส่วนของชุมชนเขาเทพพทักษ์นั้น เนื่องจากชุมชนตั้งอยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นจุดหมาย
ิ
ุ
ปลายทางอย่างเขื่อนรัชประภาและอทยานแห่งชาติเขาสก ท าให้ชุมชนนี้มีศักยภาพในการน าเสนอบริการ