Page 113 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 113

บทที่ 6 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพิเศษ    102




                     ร้านสะดวกซื้อในท้องถิ่น แต่กลับไม่มีผู้ซื้อคนใดรู้จักผู้ผลิตอาหารและไวน์ที่แท้จริงเลย ดังนั้นมุมมองใหม่
                     ของการบริโภคอาหารและไวน์แบบเนิบช้า จึงอาจจะเห็นได้จากการมีร้านอาหารที่เปิดโอกาสให้ผู้บริโภค

                                                ื่
                                                                                              ี
                     และผู้ผลิตได้มาพบปะสนทนาเพอแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ระหว่างกันมากกว่าจะเป็นเพยงผู้ซื้อและผู้ขาย
                     ในร้านสะดวกซื้อเท่านั้น (Popham, 2009) ซึ่งในที่สุดแนวคิดแนวคิดของ Petrini สามารถสร้างกระแส
                     นิยมให้กับชาวอีตาลีและแพร่กระจายไปทั่วโลก
                             การท่องเที่ยวแบบเนิบช้า ให้ความส าคัญกับการใช้เวลา (Taking Time) และความผูกพนกับ
                                                                                                        ั
                     แหล่งท่องเที่ยวโดยเน้นการมีส่วนร่วม (Attachment To a Particular Place) (Matos, 2004, p. 100)

                     และต้องเป็นการเดินทางที่มีการเปลี่ยนถ่ายข้อมูล (Transformation) เกิดการเรียนรู้ แบ่งปันการด าเนิน
                     ชีวิตและประสบการณ์ระหว่างผู้มาเยือนกับเจ้าบ้าน เกิดเป็นประสบการณ์ความทรงจ า เพราะการเดินทาง
                     ท่องเที่ยวแบบเนิบช้าเป็นการท่องเที่ยวที่สร้างความสัมพนธ์อย่างลึกซึ้งส่วนบุคคลกับสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น
                                                                     ั
                     เรียนรู้เข้าใจชุมชนท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และคุณค่า เกิดประสบการณ์แปลกใจที่ไม่ได้คาดหวัง
                     และเพลิดเพลินไปกับความธรรมดา เรียบง่าย (Ytseven and Kaya, 2011) โดยลักษณะการเดินทาง
                     ท่องเที่ยวแบบเนิบช้า (Slow Travel) มี 3 ลักษณะส าคัญ คือ
                             1)  ความเนิบช้า (Slowness) ที่สามารถตอบสนองความเงียบ สงบ ผ่อนคลาย เรียบง่าย หลุดออก

                     จากสภาวะการใช้ชีวิตปกติประจ าวัน ตั้งแต่กระบวนการออกเดินทางท่องเที่ยวตลอดระยะทางการเดินทาง
                                                                                      ั
                     และกิจกรรมที่ท าระหว่างการเดินทาง และ/หรือในแหล่งท่องเที่ยวที่ต้องสัมพนธ์กันและมีความสมดุลกับ
                     การรับรู้ได้ถึงเวลาที่ใช้
                             2) ประสบการณ์การเดินทางท่องเที่ยวที่มากกว่าการมุ่งแต่จะเดินทางให้ถึงปลายทาง (Travel

                     Experience) ที่เกิดจากการสังเกตวิถีชีวิต วัฒนธรรม ภูมิทัศน์ที่ได้เดินทางผ่านสถานที่ทองนั้น ผ่านรูปแบบ
                                                                                             ่
                                                                                                       ื่
                     การเดินทางต่าง ๆ อาทิ การเดินทางด้วยรถไฟ รถบัส รถโคช เรือ เดิน ปั่นจักรยาน เป็นต้น เพอสร้าง
                     ประสบการณ์การรับรู้และการเรียนรู้ในวัฒนธรรม สภาพแวดล้อมที่ต่างกันให้มากขึ้นกว่าการมองเห็น
                     แต่จะคลอบคลุมถึงการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า คือ การสัมผัส การมอง การได้ยิน การลิ้มรส และ

                     การสูดดม
                             3) จิตส านึกด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Consciousness) เป็นการเดินทางท่องเที่ยวที่ให้
                     ความส าคัญกับการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในทุกรูปแบบหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่ท า อาทิ

                     สนับสนุนการใช้พลังงานทางเลือก เน้นการใช้พลังงานน้อยจากที่พก การเดินทาง เพอให้กระทบต่อ
                                                                                ั
                                                                                                ื่
                     สิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด (Lumsdon and McGrath, 2011)
                             จากรายงานขององค์กรการท่องเที่ยวโลก (UNWTO) ในปี 2007 การเดินทางท่องเที่ยวแบบ
                     เนิบช้าได้รับความนิยม และมีจ านวนเพมมากขึ้นจากทั่วทุกมุมโลก โดยแนวโน้มการเดินทางท่องเที่ยวแบบ
                                                      ิ่
                     เนิบช้ามีการเติบโตมากในทวีปยุโรป อเมริกา และละตินอเมริกา จากข้อมูลของสมาคม Cittaslow ในช่วง

                     ก่อตั้ง ถึงปี 2007 มีจ านวนสมาชิกเข้าร่วมมากกว่า 100 เมือง ใน 10 ประเทศ โดยมากกว่าร้อยละ 50
                     เป็นเมือง หรือประเทศที่อยู่ในแถบยุโรป อเมริกา และละตินอเมริกา และปรากฏเมืองในเอเชีย 2 ประเทศ
                     คือ ประเทศญี่ปุ่น และประเทศเกาหลีใต้ (Cittaslow, 2016)

                            6.2.1 การท่องเที่ยวแบบเนิบช้าในประเทศไทย
                             ราณี อิสิชัยกุล และคณะ (2554) แปลค าว่า Slow Tourism เป็นภาษาไทยว่า “การท่องเที่ยวที่ไร้

                                                                                             ื่
                     ความเร่งรีบ” และได้ให้ค าจ ากัดความไว้ว่า “เป็นการเดินทางท่องเที่ยวที่เนิบช้า เพอผ่อนคลายความ
                     ตึงเครียดและเสริมสร้างพลังงาน โดยให้เวลาและโอกาสในการซึมซับประสบการณ์ในขณะท่องเที่ยว
                              ั
                       ื่
                     เพอการพกผ่อน และเรียนรู้จากธรรมชาติ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในท้องถิ่น โดยเน้นคุณภาพ
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118