Page 107 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 107
บทที่ 6 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพิเศษ 96
ิ่
ในป ค.ศ. 2050 จะมีประชากรโลกสูงถึง 9,300 ลานคน ซึ่งภูมิภาคเอเชียจะมีสัดสวนการเพมขึ้นสูงสุดถึง
5,400 ล้านคน ส่งผลมีการคาดการณ์ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของโลกเพมขึ้นอยางต่อเนื่อง อีกทั้งความ
ิ่
ิ่
ต้องการของชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามารับบริการทางสุขภาพนั้นมีแนวโนมเพมสูงขึ้น จากสถิติ
ชาวต่างชาติที่เข้ามารับบริการทางการแพทย์ในโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2544-2547
ิ่
ั
พบว่า มีอตราสวนเพมขึ้นในอตราเฉลี่ยรอยละ 27.2 ตอปี โดยส่วนใหญ่มาจากญี่ปุน สหรัฐอเมริกา ยุโรป
ั
ิ
และเอเชีย (จีน/ไต้หวัน) (The Office of SMEs Promotion, 2014, p. 18) และเมื่อพจารณาจ านวน
นักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสะสมจากปี พ.ศ. 2557-2560 พบว่า มีนักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพจ านวน
1,654, 884 คน แบ่งออกเป็นนักท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพจ านวน 871,993 คน มาจากประเทศจีน
ออสเตรเลีย รัสเซีย กัมพชา และสหราชอาณาจักร และนักท่องเที่ยวเชิงการแพทย์จ านวน 782,891 คน
ู
ู
มาจากกัมพชา ลาว เมียนมาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรสต์ และโอมาน (ศูนย์วิจัยด้านการตลาด การท่องเที่ยว
แห่งประเทศไทย, 2560)
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเป็นรูปแบบการทองเที่ยวหนึ่งที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้คน
ี
ในปัจจุบัน สืบเนื่องมาจากสภาวะความเครียดจากการท างาน และสภาวะสังคมเมือง อกทั้งเพอหลีกเลี่ยง
ื่
การเกิดโรคภัยต่าง ๆ ส่งผลใหการบริการด้านสุขภาพในประเทศไทย ตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพทั้งทาง
ร่างกายและจิตใจ รวมถึงการรักษาพยาบาลบ าบัดรักษาอาการเจ็บป่วยเติบโตอย่างตอเนื่อง สอดคลองกับ
สัดสวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาเพอใช้บริการในประเทศไทยที่เพมมากขึ้นเป็นล าดับ แสดงให้เห็นถึง
ิ่
ื่
ความส าคัญของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในมิติทางเศรษฐกิจอย่างชัดเจน
จากการศึกษาเปรียบเทียบศักยภาพทางการแขงขันดานการทองเที่ยวเชิงสุขภาพระหว่างประเทศ
ในภูมิภาคอาเซียน จะเห็นว่าหลายประเทศตางผลักดันและสงเสริมการทองเที่ยวเชิงสุขภาพให้เป็นกลไก
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะประเทศสิงคโปร์ ที่มีศักยภาพการแขงขันด้านสิ่งอานวย
ความสะดวก และโครงสร้างพนฐานที่เออต่อการเดินทางเขาถึงของนักทองเที่ยว มีความมั่นคง และ
ื้
ื้
ปลอดภัย เน้นกลุ่มตลาดนักทองเที่ยวคุณภาพที่มีก าลังซื้อสูงและในขณะที่ประเทศมาเลเซียที่มุงดึงดูด
กลุมผู้ใช้บริการชาวมุสลิม และมีปัจจัยสงเสริมด้านการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความทันสมัย
ซึ่งประเทศไทยนั้นนับว่ามีศักยภาพทางการแข่งขันที่ทัดเทียมกับนานาประเทศ ทั้งระดับมาตรฐาน
การรักษาพยาบาล แพทยเฉพาะทาง การบริการปาที่มีชื่อเสียงในระดับโลก ตลอดจนขอได้เปรียบของ
แหล่งทรัพยากรทางการทองเที่ยวทางธรรมชาติที่มีความสวยงาม แตก็มีข้อเสียเปรียบทางดานโครงสราง
พื้นฐาน และความปลอดภัยของนักทองเที่ยว
่
จากสถานการณ์และศักยภาพการแข่งขันของประเทศดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงจุดออนของ
การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทย เช่น ด้านความมั่นคงปลอดภัย ระบบการขนส่งทางบก
และทางน ้า ด้านสุขอนามัย และด้านทรัพยากรมนุษย์ อย่างไรก็ตาม โอกาสในการพฒนาก็สามารถกระท า
ั
ได้ด้วยการส่งเสริมและผลักดันจากภาครัฐ โดยอาศัยข้อได้เปรียบที่ส าคัญด้านทรัพยากรที่เป็นปัจจัยส าคัญ
ในการตัดสินใจเลือกเดินทางมารักษาพยาบาล และเดินทางท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ นอกจากนี้การสนับสนุน
ผู้ประกอบการเพอสร้างมาตรฐานในการให้บริการด้านสุขภาพหรือยกระดับมาตรฐานการบริการของตน
ื่
ตลอดจนการพฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในรูปแบบต่าง ๆ ที่สามารถสร้างมูลค่า อาทิ การจัดท า
ั
เส้นทางทองเที่ยวเชิงสุขภาพที่โดดเด่นทั้งในระดับจังหวัด ระดับภูมิภาคและระหว่างภูมิภาค และเชื่อมโยง
ื่
กับประเทศเพอนบ้าน น่าจะเป็นแนวทางหนึ่งในการสร้างจุดแข็งและความสามารถทางการแข่งขันด้าน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของไทยได้