Page 96 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 96

บทที่ 5 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานมรดกวัฒนธรรม    85




                     ในประเทศกลุ่มเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในช่วงปี พ.ศ. 2542-2543 ซึ่งมีจุดหมายปลายทางคือประเทศไทย
                     รวมอยู่ด้วย โดย Creative Tourism นั้น เกิดจากหลักการที่นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการเรียนรู้

                                        ื้
                     ศิลปวัฒนธรรมของพนที่จุดหมายปลายทาง ซึ่งท าให้นักท่องเที่ยวได้ท าความเข้าใจผ่านประสบการณ์
                                               ั
                                           ั
                     ของตัวเอง เกิดปฏิสัมพนธ์อนดีระหว่างเจ้าบ้าน และผู้มาเยือน และยังเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
                     ข้ามวัฒนธรรม นอกจากนี้ นักท่องเที่ยวยังสามารถใช้ประสบการณ์ที่เรียนรู้ใหม่ มาประยุกต์กับชีวิต
                     การงานของตนหลังจากการท่องเที่ยว (สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ และคณะ, 2556)
                                                                                                     ี
                             นิยามของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์จากมุมมองของแต่ละหน่วยงาน แม้จะมีรายละเอยดเชิงลึก
                     ที่แตกต่างกัน แต่มีจุดร่วมที่คล้ายกัน กล่าวคือ มีการปฏิสัมพนธ์ระหว่างแขก (Guest) และเจ้าบ้าน (Host)
                                                                       ั
                     โดยพนเอก ดร.นาฬิกอติภัค แสงสนิท ได้ให้ความหมายของ “การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative
                                         ั
                          ั
                                                          ั
                     Tourism)” ว่าหมายถึง การท่องเที่ยวที่สัมพนธ์กับประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม วิถีชุมชนและเอกลักษณ์
                                                    ื่
                     สถานที่ โดยนักท่องเที่ยวได้เรียนรู้เพอสร้างประสบการณ์ตรงร่วมกับเจ้าของวัฒนธรรม และมีโอกาสได้ใช้
                                                                     ิ่
                     ชีวิตร่วมกันกับเจ้าของสถานที่ และเป็นการสร้างมูลค่าเพมให้กับประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม วิถีชุมชน
                     และเอกลักษณ์ของสถานที่ไม่ใช่กิจกรรมที่เน้นรายได้ของชุมชน แต่เป็นกิจกรรมที่เน้นคุณค่าของชุมชน
                     เป็นส าคัญ ซึ่งสอดคล้องกับ UNESCO ที่กล่าวว่า การท่องเที่ยวสร้างสรรค์เป็นการจัดการท่องเที่ยวให้เกิด

                     กิจกรรมต่างๆ  โดยเน้นการเรียนรู้ การศึกษาจากประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกบชุมชน ตลอดจนการมีส่วนร่วม
                                                                                  ั
                                                                                                   ั
                     และปฏิสัมพนธ์ระหว่างนักท่องเที่ยวกับชุมชน การท่องเที่ยวสร้างสรรค์จะเน้นความสัมพนธ์ระหว่าง
                                ั
                     นักท่องเที่ยวและผู้คนในชุมชนนั้น ๆ โดยมีเป้าหมายว่านักท่องเที่ยวในลักษณะของการท่องเที่ยวสร้างสรรค์
                     จะเป็นนักท่องเที่ยวที่ไม่ใช่เป็นเพยงนักท่องเที่ยว (Tourist) แต่จะเป็นสมาชิกของชุมชนที่ได้มีโอกาสเข้าไป
                                                 ี
                     ใช้ชีวิตร่วมกัน (Citizen of Community)
                                                                                        ิ
                             ค าว่า “สร้างสรรค์” ในการท่องเที่ยวสร้างสรรค์นี้ เกิดจากการอางองกับการท่องเที่ยวในรูป
                                                                                     ้
                                             ี
                     แบบเดิม ที่มีวัตถุประสงค์เพยงเพอเป็นการใช้เวลาในการพกผ่อนหย่อนใจ แสวงหาความสุข และความ
                                                                       ั
                                                  ื่
                     เพลิดเพลินที่ได้รับจากการท่องเที่ยวในสถานที่ท่องเที่ยวนั้น ๆ แม้ต่อมาการท่องเที่ยวได้เพมรูปแบบให้มี
                                                                                                 ิ่
                                                                                                     ิ
                                                                                                       ิ
                     การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์หรือเชิงวัฒนธรรม โดยจะเน้นรูปแบบของการท่องเที่ยวไปยังพพธภัณฑ์
                     หรือโบราณสถานต่าง ๆ แต่ก็ยังไม่มีมิติของการพฒนาและสร้างความสมดุลในชุมชน การท่องเที่ยว
                                                                 ั
                     เชิงสร้างสรรค์ หรือค าว่าสร้างสรรค์จึงนับได้ว่าเป็นการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ ที่แตกต่างหรือสวนทางกับ
                     การท่องเที่ยวในกระแสหลัก
                            5.4.2 คุณสมบัติของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์

                             องค์กรด้านการท่องเที่ยวในประเทศเปรูที่เรียกว่า PromPeru ได้อธิบายว่า ขณะที่นิยามที่เกร็ก
                     ริชาร์ดส (Greg Richards) ได้ประมวลไว้ในปี พ.ศ. 2553 มาเป็นแนวทางในการพัฒนา (อพท., 2561) ดังนี้
                            1. ผู้ท่องเที่ยว และเจ้าของบ้านมีความผูกพันระหว่างกัน (Each engaging the other)

                            2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม (Cross - cultural engagement/ Cultural experience)
                            3. มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งทางวัฒนธรรมของพื้นที่ท่องเที่ยว (Spirit of place/ deep meaning/
                     understanding of the specific cultural of the place)
                            4. ประสบการณ์จากการมีส่วนร่วม (Hands - on experience)
                            5. มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน/ ส่งผ่าน - ส่งต่อประสบการณ์ (Exchange information/

                     transformation and transformative experiences)
                            6. เป็นผู้เข้าร่วมกิจกรรมมากกว่าเป็นผู้ชม (More participate than observe)
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101