Page 95 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 95

บทที่ 5 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานมรดกวัฒนธรรม    84




                     ความสะอาด และสุขอนามัย นอกจากนี้ เมื่อชุมชนเริ่มเป็นที่รู้จักก็จะมีหน่วยงานลงไปสนับสนุนเรื่อง
                                                                                           ึ่
                       ุ
                     อปโภคบริโภค การที่การท่องเที่ยวเป็นเพยงรายได้เสริม ท าให้ชาวบ้านไม่คิดพงพารายได้หลักจาก
                                                          ี
                     การท่องเที่ยว และสามารถด ารงชีวิตได้อย่างปกติต่อเนื่อง ไม่ว่าจะมีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวหรือไม่ก็ตาม
                             การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนจากหลายกรณีศึกษาบ่งชี้ว่า การบริหารจัดการโดยชุมชนก่อให้เกิด
                     ผลประโยชน์ในหลายด้าน เช่น งานศึกษาของ Lee and Jan (2019) ที่ศึกษาการท่องเที่ยวโดยชุมชน
                     จากชุมชน 6 แห่งในประเทศไต้หวัน ผ่านการตอบแบบสอบถามของผู้พกอาศัยจ านวน 849 คน โดย
                                                                                    ั
                     ท าการศึกษาเปรียบเทียบก่อน-หลัง ของกระบวนการพฒนาการท่องเที่ยว แบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่
                                                                      ั
                                                     ั
                     การรวมกลุ่ม (Consolidation) การพฒนา (Development) และการเชื่อมโยง (Involvement) ผ่านการ
                     พจารณาบริบทความยั่งยืนทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต
                       ิ
                     ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ผู้พักอาศัยในชุมชนส่วนใหญ่มีความรับรู้ว่าความยั่งยืนในทั้ง 4 มิติเปลี่ยนแปลง

                     ไปในทางที่ดีขึ้นอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยเฉพาะในระยะพัฒนา

                     5.4 การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (CREATIVE TOURISM)

                             องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก (UNESCO) ได้ให้
                     นิยามของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ว่า “เป็นการท่องเที่ยวที่มีจุดประสงค์สอดคล้องกับแนวทาง
                     การพฒนาชุมชนที่เกี่ยวข้อง เพอให้เกิดความยั่งยืนในการด าเนินชีวิตของชุมชน โดยจัดกิจกรรม
                                                  ื่
                           ั
                                                     ั
                     การท่องเที่ยวอย่างกลมกลืน และสัมพนธ์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ตลอดจนวิถีต่าง ๆ ในชุมชน ในเชิง
                     ของการเรียนรู้และการทดลอง เพอให้ได้มาซึ่งประสบการณ์จากสิ่งที่มีอยู่และเป็นอยู่จริงในชุมชน
                                                    ื่
                     นอกจากนั้น ชุมชนจะต้องสามารถใช้การจัดการท่องเที่ยวสร้างสรรค์ เป็นเครื่องมือในการรักษาความสมดุล
                     ระหว่าง (1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการท่องเที่ยวภายในชุมชนและ (2) ชุมชนจะได้รับผลประโยชน์

                                                         ิ
                     ทั้งในรูปแบบที่เป็นผลประโยชน์ตอบแทนองตามระบอบทุนนิยมและในรูปแบบความยั่งยืนของการพฒนา
                                                                                                        ั
                     ในชุมชน
                            5.4.1 นิยาม “การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์”
                             รูปแบบพัฒนาการของการท่องเที่ยวของชาวตะวันตก มายังจุดหมายปลายทางในเอเชียตะวันออก
                     เฉียงใต้ สามารถแบ่งออกเป็นกระแสหลักได้ 3 กระแส โดยเริ่มจากยุคแรก เป็นยุคที่ให้ความสนใจกับ

                     การพกผ่อนหย่อนใจหรือนันทนาการ เน้นความบันเทิงเป็นหลัก (Recreation) ก่อนที่จะหันมาให้ความ
                          ั
                     สนใจกับวัฒนธรรมเพมมากขึ้น จนเกิดเป็นการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural Tourism) ตามมาด้วย
                                       ิ่
                     การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Eco Tourism) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable
                     Tourism) และยังมีรูปแบบการท่องเที่ยวใหม่ในปัจจุบันที่เรียกว่าการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative

                                                          ู
                     Tourism) ซึ่งรูปแบบการท่องเที่ยวที่ก าลังพดถึงมากในปัจจุบันและถือเป็นหนึ่งในรูปแบบการท่องเที่ยว
                     อย่างยั่งยืน
                             การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์นั้นพัฒนามาจากการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เป็นฐานราก แต่จะมีจุด
                     แตกต่างที่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมนั้น นักท่องเที่ยวมีบทบาทเป็นเพยงผู้ชม ขณะที่การท่องเที่ยว
                                                                                    ี
                     เชิงสร้างสรรค์นักท่องเที่ยวสามารถมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชุมชนได้ และชุมชนเองก็สามารถสื่อสารกับ
                                                                                                      ี
                     นักท่องเที่ยวได้มากขึ้น (อพท., 2558) การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์จึงเปรียบเสมือนวิวัฒนาการอกระดับ
                     ของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
                             ค าว่า Creative Tourism นั้นสร้างขึ้นโดยนักท่องเที่ยวรุ่นใหม่ ที่ชื่อ คริสปิน เรย์มอนด์ (Crispin

                     Raymond)  และเกร็ก ริชาร์ดส์ (Greg Richards) ที่กล่าวว่า พวกเขาได้แรงบันดาลใจมาจากการท่องเที่ยว
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100