Page 90 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 90

บทที่ 5 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานมรดกวัฒนธรรม    79




                                    ื้
                     ความต้องการพนฐานของนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ นั่นคือ การเปิดโอกาสให้ได้แสดงจิตส านึกที่ดีต่อ
                     แหล่งท่องเที่ยว รวมถึงมีกิจกรรมให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคน วัฒนธรรม วิถีชีวิตหรือภูมิปัญญาท้องถิ่น

                     ที่เป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยว
                             องค์ประกอบที่ 3 คือ การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น เพราะการท่องเที่ยวมีบทบาทส าคัญ
                                    ั
                     อย่างยิ่งต่อการพฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนท้องถิ่นในระยะยาวมากว่ากิจกรรมอน ๆ การเปิด
                                                                                                 ื่
                     โอกาสให้ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในรูปแบบต่าง ๆ จะช่วยให้ชุมชนได้รับ
                     ผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวทั้งทางตรงและทางออม รูปแบบของการมีส่วนร่วมของชุมชน ได้แก่
                                                                   ้
                     การลงทุนเกี่ยวกับสิ่งอ านวยความสะดวกขนาดเล็กที่ส่งผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่ า การเป็นมัคคุเทศก์ การน า
                     สินค้าที่เป็นศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านมาขายแก่นักท่องเที่ยว และการจ้างงานในส่วนบริการอื่น ๆ เป็นต้น
                             กล่าวโดยสรุป การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่ให้คุณค่ากับกิจกรรมที่ก่อให้เกิด

                     ประโยชน์กับแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จะต้องค านึงถึงวัตถุประสงค์หลัก
                     4 ประการ คือ
                                1. เพอพฒนาจิตส านึก และความเข้าใจของนักท่องเที่ยวในการท าคุณประโยชน์แก่สิ่งแวดล้อม
                                 ื่
                                    ั
                     และเศรษฐกิจ
                                     ิ่
                                2. เพอเพมพนประสบการณ์ที่มีคุณภาพ หรือคุณค่าสูงให้แก่นักท่องเที่ยว หรือผู้มาเยือน
                                  ื่
                                        ู
                     แหล่งท่องเที่ยว
                                3. เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของชุมชนที่แหล่งท่องเที่ยวตั้งอยู่
                                 ื่
                                4. เพอดูแลรักษาและคงไว้ซึ่งคุณภาพสิ่งแวดล้อม รวมถึงวิถีชีวิต และความเป็นอยู่ของชุมชน
                     ท้องถิ่นดั้งเดิมอีกด้วย
                             จะเห็นได้ว่าการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ มีจุดมุ่งหมายหลักในการสร้างความสมดุลให้เกิดขึ้นระหว่าง
                                                                                                         ื่
                     กระแสการพฒนาทางเศรษฐกิจกับกระแสอนุรักษ์ จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะต้องช่วยกันส่งเสริมเพอให้
                                 ั
                     การท่องเที่ยวบรรลุจุดมุ่งหมาย ดังกล่าว ทั้งนี้จ าต้องอาศัยความร่วมมือสนับสนุนส่งเสริมจากทุกฝ่าย
                     ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ทั้งฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายเอกชน และฝ่ายนักท่องเที่ยว
                             จากข้างต้น จะเห็นได้ว่า การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (Conservation Tourism) เป็นรูปแบบหนึ่ง
                     ของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เนื่องจากเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ก่อให้เกิดผลทางเศรษฐกิจ โดยการใช้

                     ทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ เพอให้การท่องเที่ยวสร้างความมั่นคงยั่งยืนอยู่คู่สังคมมนุษย์
                                                             ื่
                                      ั
                                                                                                          ี
                     และก่อให้เกิดการพฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ฉะนั้น แนวคิดของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์จึงไม่ใช่เพยง
                     การท่องเที่ยวเพอผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ที่มุ่งเสนอขายสินค้า หรือบริการทางการท่องเที่ยวให้แก่
                                   ื่
                                                                                                        ี
                     นักท่องเที่ยวอย่างเดียว หากยังมุ่งประสานผลประโยชน์ทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมอกด้วย
                     จึงนับได้ว่าการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์มีส่วนส าคัญในการสนับสนุนให้การท่องเที่ยวพฒนาไปอย่างมี
                                                                                               ั
                     ประสิทธิภาพ กล่าวคือ สามารถสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว สามารถสร้างรายได้เข้าสู่ประเทศ
                                                                              ็
                                           ่
                     และสร้างความพอใจให้แกประชาชนเจ้าของท้องถิ่น ในขณะเดียวกันกปกปักรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
                     และสภาพแวดล้อมทางการท่องเที่ยวให้คงอยู่คู่สังคมมนุษย์อีกด้วย

                     5.3 การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community-Based Tourism-CBT)

                             การท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่พัฒนามาจากแนวคิดที่ว่า ชุมชนท้องถิ่นผู้เป็น
                     เจ้าของทรัพยากร ควรมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการพนที่ และมีส่วนร่วมในการเป็นผู้รับประโยชน์
                                                                      ื้
                     ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมจากกิจกรรมการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวโดยชุมชน
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95