Page 89 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 89

บทที่ 5 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานมรดกวัฒนธรรม    78




                     มาเยี่ยมเยือน ชุมชนก็สามารถต้อนรับและให้บริการแก่แขกหรือนักท่องเที่ยวได้ ซึ่งชุมชนจะมีแนวคิดว่า
                                                    ั
                     นักท่องเที่ยวเหล่านั้นเป็นแขกผู้มาพกที่บ้าน (Be a guest, not just a Tourist) ในปัจจุบันการท่องเที่ยว
                     ในชนบทได้รับความสนใจเพมมากขึ้นจากนักท่องเที่ยวกลุ่มหลัก (Main Stream) ทั้งในและต่างประเทศ
                                             ิ่
                                                                      ื่
                     โดยมีรูปแบบการท่องเที่ยว เช่น การท่องเที่ยวค้างคืนเพอสัมผัสวิถีชีวิตชนบทไทย (Home Stay and
                     Village Visit) และการท่องเที่ยวโดยชุมชน ที่แตกแขนงมาจากแนวคิดการท่องเที่ยวชนบท ที่ถือเป็น
                     รูปแบบการท่องเที่ยวที่ส าคัญ


                     5.2 การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (Conservation Tourism)
                                                                                        ั
                             การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ หรือ Conservation Tourism หมายถึง การพฒนาการท่องเที่ยวที่ต้อง
                     ใช้ทรัพยากรอย่างมัธยัสถ์ ให้มีความมั่นคง ยั่งยืน และในท้ายที่สุดจะต้องคืนทุนต่อสังคม หรือคืนประโยชน์
                     ให้คนในท้องถิ่นที่เป็นเจ้าของทรัพยากร
                             การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เป็นแนวความคิดที่เกิดขึ้นโดยมีสาเหตุมาจากแนวโน้ม 2 ประการ

                                                                                                   ุ
                     มาบรรจบกันคือ แนวโน้มเกี่ยวกับการอนุรักษ์ และแนวโน้มเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงเรื่องอตสาหกรรม
                     ท่องเที่ยว ที่เกิดจากการที่ประชากรเพมขึ้น และภาวะทางเศรษฐกิจถดถอยในหลายประเทศ กิจกรรม
                                                      ิ่
                     การพฒนาต่าง ๆ เช่น การตัดไม้ท าลายป่า การท าเหมืองแร่ และการเกษตร เกิดขึ้นภายในบริเวณทั่วไป
                          ั
                     ซึ่งส่วนใหญ่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบนิเวศ จนท าให้ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม
                     และผลที่ตามมาคือความไม่ยั่งยืนของการพฒนาเศรษฐกิจ ท าให้ประเทศต่าง ๆ ได้พยายามผสมผสาน
                                                          ั
                     เรื่องของการอนุรักษ์เข้ากับการพัฒนาเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่ได้รับ
                     การกล่าวถึงในยุคเดียวกับที่มีการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเกิดขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2535 หรือหลังการบัญญัติ
                     แผนปฏิบัติการ 21 (Agenda 21) ประเทศไทยในยุคนั้น มีการแปลความหมายของค าว่า Ecotourism

                     เป็นภาษาไทยว่าการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ซึ่งมีความหมายที่ครอบคลุมถึงการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในปัจจุบัน
                     เวลาต่อมา เมื่อรูปแบบการท่องเที่ยวมีความหลากหลาย และมีลักษณะกิจกรรมที่ชัดเจนในแต่ละรูปแบบ
                     Ecotourism จึงถูกแปลเป็นภาษาไทยว่า “การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ” เนื่องจากให้สอดคล้องกับค าว่า
                     “Ecology” หรือระบบนิเวศ และมักใช้กับกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ

                     ที่มีการน าเสนอระบบนิเวศของสิ่งมีชีวิตทั้งคน สัตว์ และพนธุ์พช ในขณะที่การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
                                                                        ั
                                                                            ื
                                        ั
                     แปลมาจากค าภาษาองกฤษว่า “Conservation Tourism” ซึ่งหมายถึง กิจกรรมการท่องเที่ยวที่เน้น
                                          ื้
                                             ู
                     การเข้าไปร่วมอนุรักษ์ ฟนฟ เรียนรู้ หรือสร้างประโยชน์ให้กับแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเป็นส่วนใหญ่
                     ในต่างประเทศจะเกิดกลุ่มนักท่องเที่ยวเชิงจิตอาสา (Voluntourist) ที่เป็นอาสาสมัครเข้าไปร่วม
                     บูรณปฏิสังขรณ์โบราณสถาน ก าแพงเมืองโบราณ หรือแหล่งประวัติศาสตร์ต่าง ๆ ดังนั้น การท่องเที่ยว
                     เชิงอนุรักษ์จึงมักเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยวที่อยู่บนฐานทรัพยากรเชิงวัฒนธรรมเป็นส าคัญ

                             องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
                             การที่จะเป็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์นั้น สามารถพจารณาได้จากการมีองค์ประกอบส าคัญ
                                                                          ิ
                     3 ประการ คือ

                             องค์ประกอบแรก คือ การสร้างจิตส านึกเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากร
                     เชิงศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมหรือธรรมชาติ
                                                                                        ั
                                                       ึ
                             องค์ประกอบข้อ 2 คือความพงพอใจของนักท่องเที่ยว ซึ่งมีความสัมพนธ์กับองค์ประกอบแรก
                     โดยตรง เพราะนักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์มักเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีความปรารถนา หรือสนใจที่จะศึกษา
                     เรียนรู้เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวที่เดินทางไป ดังนั้น กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ต้องสามารถตอบสนอง
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94