Page 88 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 88
บทที่ 5 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานมรดกวัฒนธรรม 77
บทที่ 5
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานมรดกวัฒนธรรม
(Cultural Heritage-Based Sustainable Tourism)
บทน า
การท่องเที่ยวที่อยู่บนฐานทรัพยากรเชิงวัฒนธรรมมีอยู่หลากหลายรูปแบบ เช่น การท่องเที่ยว
เชิงประวัติศาสตร์ (Historical Tourism) ซึ่งหมายถึง การเดินทางท่องเที่ยวไปยังแหล่งท่องเที่ยว
ทางโบราณคดี และประวัติศาสตร์ เพอชื่นชมและเพลิดเพลินในสถานที่ท่องเที่ยวได้ความรู้มีความเข้าใจ
ื่
ต่อประวัติศาสตร์ และโบราณคดีในท้องถิ่น การท่องเที่ยวงานชมวัฒนธรรมและประเพณี (Cultural and
Traditional Tourism) หมายถึง การเดินทางท่องเที่ยวเพอชมงานประเพณีต่าง ๆ ที่ชาวบ้านในท้องถิ่น
ื่
นั้น ๆ จัดขึ้น ได้รับความเพลิดเพลินตื่นตาตื่นใจในสุนทรียะศิลป์เพอศึกษาความเชื่อ การยอมรับนับถือ
ื่
การเคารพพธีกรรมต่าง ๆ และได้รับความรู้มีความเข้าใจต่อสภาพสังคมและวัฒนธรรม มีประสบการณ์ใหม่ ๆ
ิ
เพมขึ้น อย่างไรก็ตาม รูปแบบการท่องเที่ยวดังกล่าว มิได้มีการจ ากัดจ านวนนักท่องเที่ยว การท่องเที่ยว
ิ่
ตามงานเทศกาลมักต้อนรับนักท่องเที่ยวจ านวนมหาศาล บ่อยครั้งที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้น
ั
เนื้อหาในบทนี้ จึงมุ่งกล่าวถึงรูปแบบการท่องเที่ยวที่มีการจัดการภายใต้แนวคิดกับการพฒนาอย่างยั่งยืน
กล่าวคือ เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่รองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มเล็ก มีการบริหารจัดการที่มุ่งให้เกิด
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชนเป็นหลัก
5.1 การท่องเที่ยวชนบท (Rural Tourism / Village Tourism)
ในโลกยุคเสรีไร้พรมแดน และวิถีการด ารงชีวิตของสังคมเมืองที่มีการแข่งขัน เร่งรีบ ท าให้ผู้คน
แสวงหาวิถีชีวิตที่เรียบง่าย และพอเพยงของสังคมแบบเกษตรและสังคมชนบท เป็นสังคมที่แตกต่างจาก
ี
สังคมเมือง ซึ่งกิจกรรมท่องเที่ยว Home Stay and Village Visit เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่น่าสนใจ
ี
นักท่องเที่ยวสามารถเรียนรู้ และเข้าใจในวิถีชีวิตที่เรียบง่ายพอเพยง และขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
ขณะเดียวกันคนในชุมชนเองก็ได้ประโยชน์ในแง่การรักษา และดูแลทรัพยากรท้องถิ่นขนบธรรมเนียม
ประเพณีท้องถิ่น และวิถีชีวิตดั้งเดิม กระตุ้นให้คนในท้องถิ่นรักถิ่นฐานบ้านเกิด รวมทั้งมีรายได้เสริม
ซึ่งถือเป็นวิถีของการพฒนาท้องถิ่นบนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยงและยั่งยืน สิ่งที่ส าคัญที่สุดของ
ี
ั
ั
การท่องเที่ยวในชุมชน คือความเข้มแข็งของชุมชน และสามารถคงไว้ซึ่งอตลักษณ์ของชุมชนนั้น ๆ อย่าง
ยั่งยืน
การท่องเที่ยวชนบท (Rural Tourism) หมายถึง การเดินทางท่องเที่ยวในหมู่บ้าน ชนบทที่มี
ลักษณะวิถีชีวิต และผลงานสร้างสรรค์ที่มีเอกลักษณ์พเศษ มีความโดดเด่นเพอความเพลิดเพลิน ได้ความรู้
ื่
ิ
ื้
ดูผลงานสร้างสรรค์และภูมิปัญญาพนบ้าน มีความเข้าใจในวัฒนธรรมท้องถิ่น บนพนฐานของ
ื้
ความรับผิดชอบ และมีจิตส านึกต่อการรักษามรดกทางวัฒนธรรม และคุณค่าของสภาพแวดล้อม
โดยประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมต่อการจัดการการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวชนบทเกิดขึ้นจากแนวคิดของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (Conservation Tourism)
ที่มองเห็นว่าชุมชนหรือคนในท้องถิ่น เป็นเจ้าของทรัพยากรการท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็น น้ าตก ภูเขา
ื่
วัฒนธรรมท้องถิ่น และวิถีชีวิต ชุมชนควรเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรเพอความ
ยั่งยืนของชุมชน และส่งเสริมให้ท่องเที่ยวเป็นรายได้เสริมของชุมชน คือไม่ได้ท าท่องเที่ยวเป็นอาชีพหลัก
นักท่องเที่ยวไม่มาคนในชุมชนก็ยังมีอาชีพ และท ามาหากินตามปกติ แต่ครั้นมีนักท่องเที่ยวหรือแขก