Page 83 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 83
ิ
บทที่ 4 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาต 72
4.3.2 การท่องเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์
ปัจจุบันมีรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในแหล่งที่มีการเพาะปลูกหรือท าเกษตรอนทรีย์ เรียกว่า
ิ
ิ
การท่องเที่ยวเชิงเกษตรอนทรีย์หรือ Organics Tourism เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่เกิดจากกระแส
ความสนใจในการดูแลรักษาสุขภาพของผู้คนในปัจจุบัน พฤติกรรมของผู้บริโภคที่หันมาตระหนักและใส่ใจ
กับสุขภาพร่างกาย และการรับประทานอาหารปลอดภัยปราศจากสารเคมีมากขึ้น ท าให้การบริโภคสินค้า
ออร์แกนิค หรือสินค้าอนทรีย์ ได้รับความนิยมอย่างสูง ท าให้มีความต้องการทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์
ิ
หรือสินค้าออร์แกนิคเพมสูงขึ้น (ศูนย์วิจัยกสิกร, 2561) ในขณะเดียวกันก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ิ่
ิ
ิ
อนทรีย์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรอนทรีย์หลายแห่งที่ได้รับรางวัลอตสาหกรรม
ุ
ท่องเที่ยวไทย ด้านแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เช่น ไร่ปลูกรัก จังหวัดราชบุรี สวนสุภัทราแลนด์ จังหวัด
ระยอง และไม้เค็ดโฮมสเตย์ จังหวัดปราจีนบุรี เป็นต้น
ในประเทศไทยมีศูนย์รวมการท าเกษตรอนทรีย์แบบครบวงจร ส่งตรงผักผลไม้ปลอดสารพษจาก
ิ
ิ
เกษตรกรสู่ผู้บริโภคโดยตรงในราคาที่เป็นธรรม ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อโครงการ “สามพราน โมเดล” โดย
สามพรานโมเดลนี้ ได้รับการสนับสนุนทุนโครงการจากภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อขับเคลื่อนการท าเกษตร
ิ
ิ
อนทรีย์ และขับเคลื่อนตลาดสินค้าอนทรีย์ในประเทศไทย ทั้งนี้ สามพรานโมลเดลมีระบบการตรวจสอบ
ความปลอดภัยของระบบเกษตรอนทรีย์ เรียกว่า ระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม Participatory
ิ
ิ
Guarantee System (PGS) ซึ่งเป็นการตรวจสอบการท าเกษตรอนทรีย์ว่าไม่มีการปนเปื้อนของสารเคมี
อย่างแท้จริง
4.3.3 การบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร มีหลักการบริหารจัดการที่ส าคัญ 7 ประการ ดังนี้
1) การมอบประสบการณ์ท าฟาร์มหรือท าไร่ให้กับนักท่องเที่ยว กล่าวคือ ธุรกิจทางการเกษตร
ไม่ว่าใครก็สามารถท าได้ แต่การที่จะท าให้นักท่องเที่ยวประทับใจนั้นอยู่ที่วิธีการน าเสนอของผู้ประกอบการ
สิ่งส าคัญที่ผู้ประกอบการควรตระหนักคือ ประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยวจะได้รับหลังจากการมาเยี่ยมชม
ฟาร์ม ดังนั้นหากแหล่งท่องเที่ยวสามารถน าจุดเด่นที่มีลักษณะดั้งเดิมในท้องถิ่นมาน าเสนอได้ การท าธุรกิจ
ฟาร์มเกษตรจะสามารถพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง
2) การมอบประสบการณ์ด้านความรู้ให้กับนักท่องเที่ยว กล่าวคือ ธุรกิจทางด้านการเกษตร
สามารถน าเสนอประสบการณ์ทางด้านการศึกษา หรือองค์ความรู้ที่มุ่งเน้นทางการเกษตรที่เหมาะสม
ส าหรับทุกวัย การผลิตอาหารและเส้นใย การดูแลที่ดินและความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์การเกษตร
ซึ่งความรู้เหล่านี้เป็นหัวข้อทั่วไปที่ท าให้นักท่องเที่ยวมีความเพลิดเพลินควบคู่ไปกับการเรียนรู้ หรือ
็
จะจัดการให้ข้อมูลเหล่านี้ไว้ในรูปแบบกิจกรรมสันทนาการในสถานที่กได้
3) การบริการนักท่องเที่ยว กล่าวคือ การบริการนักท่องเที่ยวเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนธุรกิจ
ผู้ประกอบการสามารถจัดฝึกอบรมให้พนักงานเรียนรู้ที่จะโต้ตอบกับลูกค้าในวิธีที่เหมาะสม เพราะจะช่วย
ให้นักท่องเที่ยวมั่นใจว่าจะได้รับประสบการณ์ที่ดี ปลอดภัย และได้รับบริการที่มีคุณภาพสูง นอกจากนี้
ื่
ยังช่วยให้นักท่องเที่ยวเหล่านี้กลับมาท่องเที่ยวอกครั้ง และบอกต่อกับนักท่องเที่ยวอนให้มาท่องเที่ยว
ี
ในแหล่งท่องเที่ยวนี้อีกด้วย
ี
4) สิ่งอานวยความสะดวกและพนที่ที่สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้เพยงพอ กล่าวคือ ฟาร์ม
ื้
ี
ื้
การเกษตรของแหล่งท่องเที่ยวนั้นจ าเป็นต้องเป็นพนที่ที่สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้อย่างเพยงพอ
ื่
เพอที่จะสามารถให้บริการขั้นพนฐาน เช่น ที่จอดรถ การขนส่ง ป้ายประชาสัมพนธ์ ให้กับนักท่องเที่ยวได้
ั
ื้