Page 80 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 80

บทที่ 4 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาต     69
                                                                                                           ิ




                                             ื้
                                    ั
                             5) การพฒนาในพนที่การท่องเที่ยวจากล่างขึ้นบน (Bottom-Up Approach) มีความส าคัญ
                                                                        ั
                     โดยจ าเป็นต้องเชื่อมโยงกับนโยบายระดับชาติ หรือกรอบการพฒนาระดับโลก ตัวอย่างที่ประสบความส าเร็จ
                                                                           ั
                     อย่างมาก คือ กรณีเมืองไคคูร่า ของประเทศนิวซีแลนด์ ซึ่งได้พฒนาเมืองและได้รับการรับรองการมุ่งสู่
                     การเป็นจุดหมายปลายทางที่ยั่งยืนภายใต้กรอบ Green Globe 21 และตัวอย่างกรณีการบริหารจัดการที่ดี
                     ของรัฐควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย โดยขับเคลื่อนการพฒนาและบริหารจัดการอย่างบูรณาการ
                                                                          ั
                     ในระดับท้องถิ่น มีการวางแผน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศในระดับรัฐ (Queensland Ecotourism Plan)
                     เชื่อมโยงกับแผนระดับชาติ
                             6) การมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ ผู้ประกอบการ นักท่องเที่ยว และชุมชน การมีส่วนร่วม

                     มีความส าคัญอย่างมากในการผลักดันให้การท่องเที่ยวสีเขียวเกิดผลจริงในทางปฏิบัติและยั่งยืน ตัวอย่าง
                     ประเทศที่ประสบความส าเร็จ เช่น ประเทศเกาหลีใต้สร้างความร่วมมอระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภาคส่วน
                                                                              ื
                     ต่าง ๆ ของสาขาการท่องเที่ยวให้มีส่วนร่วมในปฏิบัติการในทุกระดับ ประเทศนอร์เวย์เน้นการมีส่วนร่วม

                     ของอตสาหกรรมการท่องเที่ยว ยังต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคม และนับว่าเป็นประเทศหนึ่งที่โดดเด่น
                          ุ
                     เรื่องความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR)
                             7) การมีระบบการติดตามข้อมูลข่าวสาร และตัวชี้วัดความส าเร็จ ระบบการติดตาม การแลกเปลี่ยน
                     ข้อมูลข่าวสาร มีส่วนช่วยให้การด าเนินนโยบายการท่องเที่ยวสีเขียวบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้

                     โดยตัวอย่างประเทศที่ด าเนินการได้ดี เช่น ประเทศเกาหลีใต้ด าเนินการนโยบายการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
                     และติดตามความก้าวหน้า รวมทั้งส่งเสริมการแบ่งปันข้อมูลและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ประเทศนอร์เวย์
                     วางกรอบตัวชี้วัดเพอประเมิน ติดตาม และผลักดันให้บรรลุจุดหมายปลายทางที่ยั่งยืน (Sustainable
                                      ื่
                     Destination)

                            4.2.2 การท่องเที่ยวสีเขียวในประเทศไทย

                             การท่องเที่ยวสีเขียวเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่เน้นที่ “กิจกรรม” หรือ Activities Based
                     มากกว่า Destination จากค าถามเดิมที่เคยถามว่า “ไปที่ไหน?” เป็น “ท าไมจึงไป? ไปเพอท าอะไร? หรือ
                                                                                               ื่
                                                                                                     ื่
                     อยากไปใช้ช่วงเวลาในวันหยุดแบบไหน?” ท าให้แนวโน้มของการเดินทางท่องเที่ยวเป็นไปเพอใช้เวลา
                     หาประสบการณ์แปลกใหม่มากกว่าการเดินทางไปเพอพกผ่อนเช่นในอดีตที่ผ่านมา การท่องเที่ยวสีเขียว
                                                                  ื่
                                                                    ั
                     เป็นการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนรูปแบบหนึ่ง ที่กิจกรรมท่องเที่ยวให้ความส าคัญกับสิ่งแวดล้อม ตอบสนอง
                     ความต้องการของท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวทั้งในปัจจุบันและอนาคต ถึงแม้กิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว
                     มักจะเกิดขึ้นในพื้นที่เชิงธรรมชาติ หากแต่แนวคิดนี้ยังสามารถประยุกต์ใช้ได้กับการท่องเที่ยวในรูปแบบอน
                                                                                                           ื่
                     รวมถึงการท่องเที่ยวแบบมวลชน (Mass Tourism) อีกด้วย

                                                                         ั
                            ประเทศไทย โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้พฒนาชุดประชาสัมพนธ์การท่องเที่ยวสีเขียว
                                                                                         ั
                     ภายใต้แนวคิด 7 Greens เที่ยวสดใส ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ขึ้นในปี พ.ศ. 2558 โดยมีเป้าหมายเพอรณรงค์
                                                                                                     ื่
                     ให้คนรุ่นใหม่ร่วมกันสร้างสรรค์การท่องเที่ยวทั้งระบบ ให้ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยวแบบ 7 Greens
                     ประกอบด้วย
                            1. Green Heart: หัวใจสีเขียว เริ่มแรกเลยคือ คุณต้องมีหัวใจที่เคารพในวิถีแห่งธรรมชาติ
                     ตระหนัก และศรัทธาในพลังอนยิ่งใหญ่ ไม่ใช่แค่ใครคนใดคนหนึ่ง แต่หมายถึงทุกคนที่อยู่ในหน่วยงาน
                                               ั
                     ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวทั้งระบบ ต้องสร้างทัศนคติ ความรู้สึกนึกคิด การรับรู้ และตระหนักถึงคุณค่า

                     ของสิ่งแวดล้อม และภัยคุกคามจากภาวะโลกร้อนที่มีต่อการท่องเที่ยว ที่ส าคัญกว่านั้นคือ ต้องลงมือปฏิบัติ
                                   ื่
                     อย่างจริงจัง เพอป้องกัน รักษา และฟนฟสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
                                                          ู
                                                       ื้
                     ด้วยความรู้ ความเข้าใจ และวิธีการที่ถูกต้องเหมาะสม
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85