Page 79 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 79
ิ
บทที่ 4 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาต 68
และการได้รับการยอมรับในระดับสากลจากองค์กรพฒนาระหว่างประเทศคือ UNEP, UNWTO และ
ั
OECD โดยองค์กรเหล่านี้ได้จัดท าเป็นกรณีศึกษาตัวอย่างในเอกสารเผยแพร่ขององค์กร การศึกษาตัวอย่าง
ที่ดีในต่างประเทศพบว่า บางประเทศมีการจัดการท่องเที่ยวสีเขียวในความหมายกว้าง เชื่อมโยงกับ
ั
การพฒนาที่ยั่งยืน หรือการเติบโตสีเขียว (Green Growth) ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น และประเทศเกาหลีใต้
ในส่วนของประเทศแคนาดาได้รับการยอมรับในด้านการจัดการเมืองสีเขียว และการใช้แผนที่สีเขียว
เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการที่น่าสนใจ บางประเทศเป็นตัวอย่างที่ดีในการจัดการการท่องเที่ยวสีเขียว
ที่มุ่งเน้นในพนที่เฉพาะที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวส าคัญ ได้แก่ แหล่งท่องเที่ยวทะเลแดง ในประเทศอยิปต์
ื้
ี
แหล่งท่องเที่ยวในเมืองไคคูร่า (Kaikoura) ประเทศนิวซีแลนด์ แหล่งท่องเที่ยวในรัฐควีนส์แลนด์ ประเทศ
ออสเตรเลีย เป็นต้น ทั้งนี้ ยังมีตัวอย่างประสบการณ์ที่ดีในต่างประเทศในด้านการใช้เครื่องมือใหม่ ๆ
ในการจัดการและส่งเสริมการท่องเที่ยวสีเขียว ได้แก่ ประเทศคอสตาริกา ซึ่งใช้ระบบใบรับรองมาตรฐาน
ื่
ระดับชาติเพอส่งเสริมกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเทศสกอตแลนด์และประเทศสหราชอาณาจักร
ได้ใช้การมีส่วนร่วมผ่านฟอรั่มการท่องเที่ยวและสิ่งแวดล้อม และระบบแรงจูงใจกับผู้ประกอบการเอกชน
เพอส่งเสริมการท่องเที่ยวสีเขียว และประเทศนอร์เวย์ ใช้มาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวที่ยั่งยืน (Sustainable
ื่
ั
Destination) และการร่วมมือกับภาคการขนส่งเป็นเครื่องมือที่ส าคัญในการพฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
จากการทบทวนประสบการณ์ที่ดี
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้วิเคราะห์ประสบการณ์ในการจัดการการท่องเที่ยวสีเขียว
ื่
ในต่างประเทศ เพอใช้เป็นแนวทางในการจัดท ายุทธศาสตร์การท่องเที่ยวสีเขียวของประเทศไทย สามารถ
สรุปปัจจัยแห่งความส าเร็จได้ 7 ประการ ดังนี้
1) การมีวิสัยทัศน์ระยะยาวที่ชัดเจน การมีวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนท าให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
เห็นเป้าหมายประเทศที่มุ่งสู่การท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) ร่วมกัน
2) ประเทศได้น าหลักการเรื่องการพฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) ผนวกใน
ั
นโยบายของประเทศ ทั้งในภาพรวมหรือในสาขาการท่องเที่ยว ประเทศที่ประสบความส าเร็จจะก าหนด
ั
ั
นโยบายของประเทศโดยได้น าหลักการการพฒนาอย่างยั่งยืนมาใช้กับการพฒนาการท่องเที่ยว หรือขยาย
ขอบเขตไปถึงสาขาอน ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ การขนส่งคมนาคม หรือในบางประเทศได้ยึดหลักการพฒนา
ื่
ั
อย่างยั่งยืนเป็นกรอบใหญ่ทั้งระบบเศรษฐกิจ
3) การใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เป็นกลไกการขับเคลื่อน การน าเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
การสร้างแรงจูงใจ หรือหลักการ และมาตรการทางด้านสิ่งแวดล้อมมาใช้เป็นกลไกส าคัญที่ท าให้ภาคธุรกิจ
ในสาขาการท่องเที่ยวและสาขาที่เกี่ยวข้องปรับรูปแบบการด าเนินธุรกิจให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ
ั
มีการพฒนาอย่างยั่งยืนได้ผลรวดเร็วมากขึ้น ตัวอย่างเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ที่นิยมใช้ ได้แก่ ก าหนด
เกณฑ์ทางสิ่งแวดล้อม การงดเว้นภาษีศุลกากร และให้เงินทุนสนับสนุนส าหรับเทคโนโลยีสะอาด ส่งเสริม
การออกใบรับรอง การใช้หลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย (Polluter Pays) เป็นต้น
ิ
4) การพฒนาองบริบทฐานพนที่ (Area-Based Development) และการบริหารจัดการโซนนิ่ง
ื้
ั
ื้
พนที่ (Zoning) การท่องเที่ยว นอกเหนือจากทิศทางการพฒนาภาพใหญ่ของประเทศที่มุ่งสู่การท่องเที่ยว
ั
สีเขียวจะต้องมีความชัดเจนแล้ว การขับเคลื่อนในทางปฏิบัติที่เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรมนั้น ต้องค านึงถึง
ื้
ื้
บริบทพนที่ การพฒนาองฐานพนที่ หรือบริหารจัดการโซนนิ่งพนที่นั้นเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีความส าคัญต่อ
ั
ื้
ิ
ความส าเร็จ ตัวอย่างที่มีความส าเร็จโดดเด่น เช่น การจัดการการท่องเที่ยวทะเลแดงอย่างยั่งยืน (Red Sea
Sustainable Tourism Initiative: RSSTI) ของประเทศอยิปต์ และการพฒนาเมืองต่าง ๆ ของประเทศ
ี
ั
ญี่ปุ่น เช่น เกียวโต นารา โอซากา เป็นต้น