Page 76 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 76
บทที่ 4 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาต 65
ิ
ั
เป็นธรรมชาติหรือชนบท แล้วพกอาศัยอยู่กับเจ้าของบ้าน โดยมีการจ่ายค่าพกอาศัยให้แก่เจ้าของบ้าน
ั
ั
ทั้งนี้ ราคาค่าพกอาศัยขึ้นอยู่กับเจ้าของบ้านจะตกลงกับนักท่องเที่ยว การพกอาศัยจะมีอาหารรวมอยู่
ั
ื้
ั
หรือไม่ก็ได้ โดยทั่วไปการพกอาศัยแบบนี้ เจ้าของบ้านจะแบ่งพนที่ให้กับนักท่องเที่ยวพกอาศัยเฉพาะ หรือ
ั
อาจจะอยู่รวมกับเจ้าของบ้านก็ได้ ขึ้นอยู่กับความพร้อมของเจ้าของบ้านเอง โดยทั่วไปนักท่องเที่ยวประเภทนี้
จะเรียกว่า “Backpacker” แหล่งท่องเที่ยวที่รู้จักกันดี คือ หมู่บ้านปลายโพงพาง ที่จัดที่อยู่อาศัยให้แก่
ื่
ั
นักท่องเที่ยวได้เข้าพกอาศัย พร้อมมีอาหารและกิจกรรมอน ๆ เสนอขายให้แก่นักท่องเที่ยวอกด้วย เช่น
ี
การล่องเรือชมหิ่งห้อยในตอนกลางคืน แล้วตอนเช้าจัดเตรียมอาหารไว้ให้นักท่องเที่ยวได้ตักบาตรอีกด้วย
3) การเดินเส้นทางธรรมชาติ เส้นทางธรรมชาติ (Nature Trail) หมายถึง เส้นทางที่ก าหนดไว้ หรือ
ุ
แนะน าให้นักท่องเที่ยวเดินชมสภาพธรรมชาติของพนที่แห่งหนึ่งแห่งใด เช่น บริเวณป่าไม้ในอทยาน
ื้
่
ั
แห่งชาติ วนอุทยาน สวนพฤกษศาสตร์ เขตรักษาพนธุ์สัตว์ป่า ป่าชายเลน ป่าพรุ ทั้งนี้เพื่อมิให้นักทองเที่ยว
หลงทาง หรือเดินสะเปะสะปะไปเหยียบย่ าท าลายพืชพรรณไม้ หรือได้รับอันตราย
ื่
4) การส่องสัตว์/ดูนก เป็นการท่องเที่ยวเพอศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ป่า และนกชนิดต่าง ๆ
ในแหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของมัน โดยการมองจากกล้องส่องทางไกล การส่องไฟฉายในช่วงเวลา
กลางคืน และการถ่ายภาพ
5) การส ารวจถ้ า/น้ าตก เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่นิยมกันมาก เนื่องจากมีแหล่ง
ั
ท่องเที่ยวประเภทนี้เป็นจ านวนมากในประเทศไทย ส่วนใหญ่ได้รับการพฒนาให้เดินทางเข้าถึงได้ไม่ยากนัก
ถ้ าเป็นลักษณะภูมิประเทศที่พบมากในบริเวณภูเขาหินปูน หากเกิดตามบริเวณชายฝั่งทะเลเรียกว่า
ถ้ าทะเล ภายในถ้ ามักมีหินงอกหินย้อยสวยงาม หากเป็นถ้ าขนาดใหญ่อาจมีความยาวหลายร้อยเมตร
ิ่
6) การปีนเขา/ไต่เขา เป็นรูปแบบของการท่องเที่ยวที่คนไทยส่วนใหญ่ยังไม่เคยชิน และเพงจะเริ่ม
น าเข้ามาเผยแพร่โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศเมื่อไม่นานมานี้ การปีนเขา/ไต่เขาต้องอาศัย
ประสบการณ์เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ
ิ
7) การล่องแก่ง ล าน้ าบางสายที่มีแก่งหินพาดผ่านกลางล าน้ า ท าให้น้ าไหลเชี่ยวมากเป็นพเศษ
หรืออาจมีโขดหินโผล่พนพนน้ า กั้นขวางทางเป็นตอน ๆ ลักษณะเช่นนี้ท าให้เหมาะส าหรับการท่องเที่ยว
ื้
้
แบบผจญภัยที่เรียกว่า การล่องแก่ง (Rapids Shooting)
ั
8) การนั่งเรือ/แพชมภูมิประเทศ เป็นการท่องเที่ยวแบบพกผ่อนสบาย ๆ ซึ่งเหมาะส าหรับการ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศในประเทศไทยที่มีแม่น้ าล าคลองเป็นจ านวนมาก นักท่องเที่ยวได้ชมภูมิประเทศตาม
สองฝั่งล าน้ า และสังเกตดูชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ตลอดจนศิลปวัฒนธรรมของสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ
ในท้องถิ่นนั้น ๆ
9) การพายเรือแคนู/เรือคะยัก เรือแคนู (Canoe) และเรือคะยัก (Kayak) เป็นรูปแบบของเรือพาย
ื่
ที่น ามาจากต่างประเทศ เพอน ามาใช้ในการท่องเที่ยวตามล าน้ า เป็นเรือพายขนาดเล็ก นั่งได้ 1-3 คน
ตัวเรือใช้วัสดุที่คงทนแต่มีน้ าหนักเบา ไม่ล่มได้ง่าย และพายได้คล่องตัว
10) การขี่ม้า/นั่งช้าง การขี่ม้าหรือนั่งช้างเป็นรูปแบบของการท่องเที่ยวที่สร้างความสนุกสนาน
ตื่นเต้นให้แก่นักท่องเที่ยวที่เข้าไปชมสถานที่ท่องเที่ยวตามธรรมชาติ โดยเฉพาะการนั่งช้าง ซึ่งเหมาะ
ส าหรับการเข้าไปในบริเวณป่า อันเป็นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์ชนิดนี้
11) การขี่รถจักรยานชมภูมิประเทศ ให้ทั้งความเพลิดเพลินในการชมภูมิประเทศสองข้างทาง และ
การออกก าลังกาย จึงเป็นรูปแบบของการท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมค่อนข้างมาก ปัจจุบันมีรถจักรยาน
ที่ออกแบบให้ขับขได้คล่องแคล่วและเบาแรง เหมาะส าหรับการเดินทางในระยะไกล และการเดินทางขึ้นลง
ี่
ตามลาดเขา เรียกชื่อรถจักรยานดังกล่าวว่า รถจักรยานเสือภูเขา