Page 73 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 73

บทที่ 4 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาต     62
                                                                                                           ิ




                                                             บทที่ 4

                                                                            ั
                                   การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรพยากรธรรมชาต
                                                                                                ิ
                                       (Natural-Based Sustainable Tourism)



                     บทน า
                            องค์การท่องเที่ยวโลก ได้ก าหนดรูปแบบการท่องเที่ยวได้ 3 รูปแบบหลัก ได้แก่ 1) รูปแบบการ
                     ท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติ (Natural- Based Tourism) 2) รูปแบบการท่องเที่ยวในแหล่งวัฒนธรรม
                     (Cultural-Based Tourism) และ 3) รูปแบบการท่องเที่ยวในความสนใจพเศษ (Special Interest
                                                                                        ิ
                     Tourism) เมื่อน าแนวคิดการก าหนดรูปแบบการท่องเที่ยวมาปรับใช้กับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จึงสามารถ
                     จ าแนกออกเป็น 3 ประเภทเช่นเดียวกัน คือ 1) การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาติ
                     (Natural-Based Sustainable Tourism) 2) การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานมรดกวัฒนธรรม (Cultural

                     Heritage-Based Sustainable Tourism) และ 3) การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามความสนใจพเศษ
                                                                                                         ิ
                     (Special Interest-Based Sustainable Tourism) ซึ่งในบทที่ 4 จะอธิบายถึงรูปแบบการท่องเที่ยวอย่าง
                     ยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาติ

                     การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาติ (Natural-Based Sustainable Tourism)
                             การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง รูปแบบหรือกิจกรรมการท่องเที่ยว

                     ที่เกิดขึ้นในพื้นที่เชิงธรรมชาติหรือทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลัก โดยกิจกรรมการท่องเที่ยวนั้นจะต้องปฏิบัติ
                     อย่างระมัดระวังภายใต้ขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยวจะเน้น
                     ให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวอย่างมี
                     ส่วนร่วมของท้องถิ่นเพื่อมุ่งเน้นให้เกิดจิตส านึกต่อการทรัพยากรและแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน


                     4.1 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism)
                                                 ิ
                             ราชบัณฑิตสถาน จึงได้พจารณาการบัญญัติศัพท์ Ecotourism เป็นภาษาไทยว่า “การท่องเที่ยว
                     เชิงนิเวศ”หรือ”นิเวศทัศนาจร” Ceballos-Lascurain (1991) ได้ก าหนดความหมายของการท่องเที่ยว
                                                                                      ื่
                     เชิงนิเวศ หมายถึง การท่องเที่ยวไปยังแหล่งธรรมชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพอชื่นชม ศึกษาเรียนรู้ และ
                                              ื
                     เพลิดเพลินกับทัศนียภาพ พชพรรณและสัตว์ป่า ตลอดจนลักษณะทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในแหล่ง
                     ธรรมชาตินั้น ๆ
                             The Ecotourism Society (1991) ได้ก าหนดความหมายของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึง
                     การเดินทางไปเยือนแหล่งธรรมชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเรียนรู้ถึงวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ธรรมชาติ
                                                                         ่
                     ด้วยความระมัดระวัง ไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือท าลายคุณคาของระบบนิเวศ และในขณะเดียวกันก็ช่วย
                     สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เกิดประโยชน์ต่อประชาชน

                     ในท้องถิ่น สอดคล้องกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้ให้ความหมายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึง
                     การเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใดแห่งหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพอการศึกษาชื่นชมและเพลิดเพลิน
                                                                                 ื่
                                                                                          ื้
                     ไปกับทัศนียภาพธรรมชาติ สภาพสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นบนพนฐานของความรู้และ
                     ความรับผิดชอบต่อระบบนิเวศ
                             ดังนั้น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เป็นการเดินทางท่องเที่ยวทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติศึกษา
                     เรียนรู้วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ สังคมและวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณะเฉพาะถิ่น โดยไม่ท าลายระบบ
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78