Page 69 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 69

บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง     58





                                                           ื้
                                       ื้
                     ความรู้สึกของคนในพนที่ต่อนักท่องเที่ยวในพนที่ว่ายินดีต้อนรับหรือรู้สึกว่าถูกรบกวน องค์ประกอบต่าง ๆ
                                                                      ื้
                                                                                  ื้
                     เหล่านี้จะเป็นสิ่งบ่งชี้ขีดความสามารถในการรองรับของพนที่ ซึ่งแต่ละพนที่จะมีขีดความสามารถในการ
                                                                              ื้
                                                         ื้
                     รองรับที่แตกต่างกันไปตามบริบทในแต่ละพนที่ หากพบว่ามีการใช้พนที่เกินขีดความสามารถในการรองรับ
                     จ าเป็นต้องมาตรการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อแก้ปัญหา เช่น การพักการใช้พื้นที่ชั่วคราว หรือการจ ากัดจ านวน
                                                                  ื้
                     นักท่องเที่ยวในการเยี่ยมชม การแก้ปัญหาในแต่ละพนที่จะไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับปัญหาที่พบ และสิ่งที่
                                                    ี
                     สนับสนุนการแก้ปัญหามีมากน้อยเพยงใด หากว่าพนที่ใดเป็นพนที่ธรรมชาติจะต้องการระยะเวลาในการ
                                                                ื้
                                                                          ื้
                     ฟื้นฟูเนื่องจากธรรมชาติต้องการเวลาในการเยียวยาตนเอง
                             แนวคิดขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านการท่องเที่ยว Tourism Carrying Capacity – TCC
                                                        ั
                       ้
                          ิ
                     อางอง Wagar (1964) และดรรชนี เอมพนธุ์ (2546) ซึ่งกล่าวถึงความหมายของขีดความสามารถในการ
                     รองรับว่า คือ ระดับของการใช้ประโยชน์ด้านนันทนาการ ซึ่งพนที่สามารถรองรับได้ ทั้งยังสามารถให้
                                                                           ื้
                     ประสบการณ์ และคุณภาพของนันทนาการที่ยั่งยืน โดยระดับของการใช้ประโยชน์ด้านนันทนาการสูงสุดที่
                     ก่อให้เกิดผลกระทบไม่เกินค่ามาตรฐานที่ก าหนดไว้ ส่วนขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านการท่องเที่ยว
                     ค านึงถึงองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ (1) ด้านชีวกายภาพ (2) ด้านสังคมวัฒนธรรม (3) ด้านสังคมจิตวิทยา (4)
                     ด้านการจัดการ ว่าแหล่งท่องเที่ยวนั้น ๆ สามารถรองรับกิจกรรมได้มากน้อยเพยงใด นอกจากนั้น ยังอ้างอง ิ
                                                                                      ี
                                                                                    ั
                     จากแนวคิดเกี่ยวกับขีดความสามารถในการรองรับได้ของ ดรรชนี เอมพนธุ์ (2546) ที่กล่าวว่า การใช้
                     แนวคิดของขีดความสามารถในการรองรับได้ จ าเป็นต้องพจารณาขีดความสามารถในการรองรับได้ใน
                                                                        ิ
                     แต่ละด้านไปพร้อม ๆ กัน โดยขีดความสามารถด้านใดมีค่าต่ าสุดเป็นตัวก าหนดระดับขีดความสามารถรวม
                     ของแหล่งท่องเที่ยวนั้น ๆ และอ้างอิงจาก คณะวนศาสตร์ (2548) เป็นต้น

                             3.3.4 แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
                             แนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม หมายถึง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ ตั้งแต่

                     ขั้นตอนเริ่มต้น ได้แก่ การวางแผนการด าเนินงาน การตัดสินใจให้เป็นไปตามความต้องการ ตลอดจน
                     การติดตาม ประเมินผล การแบ่งปันผลประโยชน์ โดยประโยชน์ที่เกิดขึ้นจะกลับคืนสู่ชุมชนโดยตรงซึ่งเป็น
                     ความต้องการให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งการวางเป้าหมาย การตัดสินใจการด าเนิน

                     กิจกรรม การรับผลประโยชน์อย่างเท่าเทียมกัน และการประเมินผลโดยประชาชนจะต้องมีอสระ เต็มใจ
                                                                                                   ิ
                     ในการมีส่วนร่วมซึ่งเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนเป็นผู้พัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงโดยรับรู้ทุกขนตอน และรู้สึก
                                                                                               ั้
                     เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการซึ่งจะน าไปสู่ความส าเร็จในการพฒนา อกทั้งเป็นการฝึกฝนและพฒนาคน
                                                                           ั
                                                                                 ี
                                                                                                      ั
                     ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ส าคัญของสังคมให้สามารถยืนหยัดได้ด้วยตนเองในที่สุด
                             การมีส่วนร่วมระดับรายบุคคลรับผลประโยชน์โดยตรง เช่น สมาชิกชุมชนให้บริการเกี่ยวข้องกับ
                                   ื่
                     การท่องเที่ยวเพอก่อให้เกิดรายได้จาก การให้บริการดังกล่าว เช่น เรือ บังกะโล อาหาร เป็นต้น หรือเป็น
                     การจ าหน่ายสินค้าที่ ผลิตจากชุมชน
                             การมส่วนร่วมระดับชุมชนโดยรวมกลุ่มจัดระบบการบริการนักท่องเที่ยว โดยชุมชนรวมกัน
                                  ี
                     จัดตั้งเป็นองค์กร ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ก าหนดมาตรการรองรับการท่องเที่ยว มีการ
                     จัดระบบการให้บริการในกิจกรรมต่าง ๆ ให้เรียบร้อย ให้เกิดความสะดวกและมีมาตรฐานเดียวกัน มีการ
                     จัดสรรรายได้สู่ผู้ให้บริการโดยตรงและกับสมาชิกของชุมชนทั้งหมดในรูปของกองทุนหมู่บ้าน จัดเป็นธุรกิจ
                     ท่องเที่ยวของชุมชน

                             หลักการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ต้องไม่ก่อให้เกิด
                     ผลกระทบด้านลบต่อชุมชน และทรัพยากรการท่องเที่ยว ทั้งในบริเวณแหล่งท่องเที่ยวและพื้นที่ใกล้เคียง
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74