Page 66 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 66
บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง 55
ทักษะ (Skill) หมายถึง มีความช านาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่สามารถสนับสนุนการด าเนินงานให้เกิดผล
เป็นรูปธรรมได้
แนวคิดการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางการท่องเที่ยว ถือเป็นหนึ่งในปัจจัยที่น าไปสู่
ความส าเร็จของการพัฒนาการท่องเที่ยว หรือการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ั่
1. บทบาทของชมชนในการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยงยืน
ุ
กระแสการเดินทางจากนักท่องเที่ยวต่างถิ่นต่างวัฒนธรรม เข้าไปสู่ชุมชนที่มีความแตกต่างทางด้าน
ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ การพัฒนาเพื่อก่อให้เกิดมาตรฐานในผลิตภัณฑ์ที่จะน าเสนอแก่นักทองเที่ยว
่
ั
ื้
ื่
การจัดเตรียมพนที่เพอให้บริการ การเกิดขึ้นของกิจกรรมเหล่านี้ซึ่งได้มาจากการพฒนาทั้งรูปธรรมและ
นามธรรม ล้วนก่อให้เกิดผลกระทบกับชุมชนทั้งทางตรงและทางออม ชุมชนจะได้รับทั้งข้อดี และข้อเสีย
้
ผลกระทบที่เกิดขึ้น เช่น ผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ดี คือท าให้เกิดเครือข่าย เกิดความเข้าใจ
เกิดการเรียนรู้ เกิดการส านึกว่าสิ่งแวดล้อมส าคัญกับมนุษย์อย่างไร แต่ในขณะเดียวกันการท่องเที่ยวที่
ไม่ค านึงถึงความสามารถในการรองรับของพนที่ ก็ท าให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมลงไปด้วย ผลกระทบด้าน
ื้
วัฒนธรรม ผลแง่บวก ประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนได้รับการเผยแพร่ ขุมชนเกิดความหวงแหน ได้รับการ
สืบทอด ผลแง่ลบที่ได้จากการท่องเที่ยวก็คือ วัฒนธรรมถูกน ามาจัดฉาก ท าให้เสื่อมศรัทธาด้อยค่า
ผลกระทบด้านสังคม ชุมชนหันมาพดคุยกันมากขึ้น เกิดเครือข่ายเรียนรู้มากขึ้น มีวิธีคิดที่เก่งขึ้น รู้เท่าทัน
ู
กระแสที่มาจากข้างนอกมากขึ้น แต่ในขณะเดียวกันก็มีแรงกดดันจากภายนอกเพมขึ้นด้วย เช่น
ิ่
ผู้ประกอบการธุรกิจที่จะเข้าไปด าเนินการ ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวท าให้ชุมชนมีอาชีพเสริม
สร้างงานใหม่ เกิดการกระจายรายได้ ในทางกลับกันบางครั้งเศรษฐกิจ ที่เข้ามาก็เออให้เกิดการขัดแย้ง
ื้
การแข่งขัน การแย่งชิงการใช้ทรัพยากรกันในชุมชน
1) บทบาทตามสิทธิกฎหมาย รัฐบาลไทยได้ลงนามรับหลักการปฏิญญาของ UN ในการประชุม
Rio Summit 1992 ได้น าหลักการ Agenda 21 ไปปรับปรุงกฎหมายในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่ประกาศใช้
บังคับเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2540 นั้น โครงสร้างทางสังคมของประเทศได้เปลี่ยนไป โดยเฉพาะมิติทางด้าน
สังคม การรวมตัวกันขององค์กรชุมชน องค์กรพฒนาเอกชนต่าง ๆ กล้าเรียกร้องในสิทธิ เริ่มเรียนรู้
ั
ั
เรื่องผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการพฒนา น าบทเรียนและประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากผลกระทบทางการ
ื้
ท่องเที่ยวมาทบทวน โดยอาศัยกฎหมายรัฐธรรมนูญที่เออประโยชน์และเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามี
ส่วนร่วมในการดูแลรักษาทรัพยากรมากขึ้น เช่น มาตรา 46 ที่บัญญัติว่า โดยอาศัยกฎหมายรัฐธรรมนูญ
ึ้
ที่เออประโยชน์และเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามส่วนร่วม ในการดูแลรักษาทรัพยากรมากขน เช่น มาตรา 46
ี
ื้
ู
ที่บัญญัติว่า “บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมย่อมมีสิทธิอนุรักษ์ หรือฟนฟจารีตประเพณี
ื้
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ หรือวัฒนธรรมอนดีของท้องถิ่นและของชาติ และมีส่วนร่วมในการจัดการ
ั
การบ ารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน ทั้งนี้
ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนที่ส าคัญที่ท าให้ชุมชนใช้ความคิดทบทวน และหันมาทวงสิทธิ
ของตัวเองที่จะปกป้องทรัพยากรธรรมชาติ มรดกทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคมที่มีอยู่มากขึ้น
2) บทบาทของชุมชนทางสังคม ถือเป็นกลไกที่ส าคัญอกอย่างหนึ่งที่ชุมชนสามารถน ามาเป็น
ี
เครื่องมือในการส่งเสริม ด าเนินการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยอาศัยกระบวนการที่เริ่มจากการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลร่วมกันของคนในชุมชน จัดเวทีชาวบ้านเรียนรู้จากประสบการณ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น การท าวิจัย
ชุมชนของคนในชุมชนเอง การสร้างเครือข่าย เป็นต้น
ื้
โดยยึดพนฐานการเรียนรู้ต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในสังคมท้องถิ่น มุ่งสู่
ั
ความยั่งยืน มาตรการเหล่านี้จะช่วยส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และช่วยประชาสัมพนธ์รูปแบบ