Page 64 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 64
บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง 53
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรทางการท่องเที่ยว
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรสามารถแบ่งออกตามประเภทของทรัพยากร ดังนี้
1. หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาตินั้น จะเน้นการจัดการให้ทรัพยากรอยู่ในสภาพ
สมบูรณ์ คงคุณค่า และสามารถตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวได้
- หลักการใช้ทรัพยากรให้นานที่สุด เป็นการใช้ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติจะต้อง
ถนอมรักษาและใช้อย่างมีจิตส านึก เพอไม่ให้ทรัพยากรการท่องเที่ยวเสื่อมสลายและหมดเปลืองไปอย่าง
ื่
รวดเร็ว
- หลักการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด และมีผู้ได้รับประโยชน์จ านวนมาก จะช่วยลด
ปริมาณความต้องการในการแสวงหาทรัพยากรทางธรรมชาติลดลง
- หลักการใช้ทรัพยากรให้ได้ประโยชน์หลายทาง เช่น ป่าไม้ เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
ที่สร้างความชุ่มชื้นให้แก่พนดิน เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ท าให้ระบบนิเวศวิทยาสมบูรณ์ และยังสามารถ
ื้
ใช้ประโยชน์ด้านการท่องเที่ยวได้ เช่น ทัวร์เดินป่า ทัวร์ผจญภัย เป็นต้น
- หลักการบูรณะฟนฟทรัพยากร เป็นการคืนสภาพของแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติที่
ื้
ู
เสื่อมโทรมให้กลับมามีสภาพคงเดิม ซึ่งจะช่วยให้มีทรัพยากรไว้ใช้และเป็นการรักษาสมดุลทางธรรมชาติ
- หลักการรักษาสภาพธรรมชาติดั้งเดิม เป็นการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว
ทางธรรมชาติ ควรเน้นการรักษาสภาพธรรมชาติดั้งเดิมไว้ให้มากที่สุด การเพมเติมปรุงแต่ง การจัด
ิ่
สิ่งอานวยความสะดวก การก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ ควรด าเนินการตามความเป็นจริงโดยไม่ขัดแย้ง
ต่อความเป็นดั้งเดิม เช่น การสร้างที่พักแบบเรือนไม้ ไม่ทาสี หรือทาสีกลมกลืนกับธรรมชาติ
2. หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เน้นการจัดการเพอให้ทรัพยากรการท่องเที่ยว
ื่
ทางวัฒนธรรมให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ที่สุด คงคุณค่าด้วยเอกลักษณ์ประจ าท้องถิ่น โดยไม่มีหรือมีการ
ื่
ดัดแปลงน้อยที่สุด เพอให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการ และสร้างประสบการณ์ที่แตกต่างให้แก่
ั
ื้
นักท่องเที่ยว ในขณะเดียวกันชุมชนก็สามารถคงไว้ซึ่งอตลักษณ์พนถิ่นไว้ได้ การอนุรักษ์ทรัพยากร
การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมมีหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
ื่
- ออกกฎหมายเพอเวนคืนที่ดิน เพราะสถานที่ท่องเที่ยวบางแห่งอาจเป็นที่ดินเอกชนถือครองอยู่
ทั้งนี้การเวนคืนที่ดินเพื่อให้สามารถปรับปรุง บูรณะซ่อมแซม ให้ถูกหลักวิชาการ
- การสร้างสิ่งอ านวยความสะดวกที่พอเพียงและเหมาะสม โดยค านึงถึงความพอเพียงเหมาะสม
ให้กลมกลืน และไม่ขัดกับสิ่งแวดล้อมโดยรวม หรือไม่ก่อให้เกิดลักษณะทัศนอุจาด (Visual Pollution) เช่น
การสร้างร้านขายของที่ระลึก ร้านอาหาร ร้านค้าต่าง ๆ
- การรักษาความปลอดภัย แหล่งท่องเที่ยวบางแห่งอาจอยู่ไกลจากชุมชนหรือมีบริเวณกว้าง
ื่
การรักษาความปลอดภัยจึงเป็นสิ่งจ าเป็น เพอลดปัญหาการสูญเสียหรือความเสียหายที่จะเกิดแก่ทรัพย์สิน
ของนักท่องเที่ยว หรือทรัพยากรการท่องเที่ยวเอง
- การจัดสร้างสถานที่ท่องเที่ยวโดยค านึงถึงสภาพวัฒนธรรมดั้งเดิม
- การอนุรักษ์ตามข้อตกลงนานาชาติ การอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว
ทางวัฒนธรรมของประเทศไทยจะสอดคล้องกับหลักการอนุรักษ์ของกฎบัตรนานาชาติ ซึ่งเป็นข้อตกลง
ที่นานาชาติได้ให้ความเห็นชอบร่วมกัน เช่น หลักการบูรณะโบราณสถาน พ.ศ. 2474 (Chart de la
Restoration, 1931) หลักการนี้เกิดขึ้นจากความเห็นชอบของคณะกรรมาธิการว่าด้วยโบราณวัตถุและ