Page 67 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 67

บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง     56






                                                                                     ิ
                     การ ท่องเที่ยวของชุมชนไปในตัวด้วย เช่น ชุมชนบ้านกรุงชิง อาเภอนบพต า จังหวัดนครศรีธรรมราช
                                              ื่
                     ได้จัดท าแผนแม่บทชุมชนเพอการพฒนาในทุก ๆ ด้านต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น รวมถึงเรื่องการ
                                                     ั
                     ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ แผนแม่บทชุมชนดังกล่าวได้ถูกใช้เป็นแนวทางที่ส าคัญให้กับชุมชนอนที่มีความคิดริเริ่ม
                                                                                             ื่
                                                                   ี
                     จะด าเนินการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ แผนดังกล่าวไม่เพยงแต่จะช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่เข้มแข็งของชุมชน
                     ให้เป็นที่รับรู้แล้ว แต่ยังสะท้อนถึงความสามารถของชุมชนที่จะจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยผ่าน
                     กระบวนการเรียนรู้ และอาศัยความสามารถของคนในชุมชนเองได้ ถือว่าการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้
                                                                    ั
                     ร่วมกันของคนในชุมชนจะช่วยส่งเสริม และประชาสัมพนธ์กิจกรรมที่แต่ละชุมชนด าเนินการให้ชุมชนอน
                                                                                                           ื่
                     ได้เรียนรู้ และขยายไปสู่การสร้างเครือข่ายในระดับที่สูงขึ้น เช่น เครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศภาคใต้
                     ซึ่งได้รวมเอาชุมชนที่ด าเนินการด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของแต่ละจังหวัดมารวมกันได้
                                         ู
                             3) แหล่งข้อมลความรู้ที่ชุมชนจะน ามาจัดการกับการท่องเที่ยว เมื่อชุมชนมีความมุ่งมั่นที่จะ
                     ด าเนินการด้านการท่องเที่ยวแล้ว แหล่งความรู้เหล่านี้จะเป็นประโยชน์ คือ การเรียนรู้ภายในชุมชน

                     การเรียนรู้ที่ส าคัญของชุมชนที่จะจัดการกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ต้องเริ่มจากการเรียนรู้ภายในของ
                     ชุมชนก่อน จนเกิดความเข้าใจว่าชุมชนมีเป้าหมายที่จะด าเนินการอย่างไร ชุมชนจะได้อะไรจากการ
                     ด าเนินการ โดยที่คนในชุมชนต้องจัดประชุม โต๊ะกลม ร่วมปรึกษา ร่วมหารือ ก าหนดวัตถุประสงค์ ก าหนด
                     เป้าหมายให้ชัดเจน เมื่อเกิดความชัดเจนทั้งนโยบาย เป้าหมาย และวิสัยทัศน์แล้ว ขั้นต่อไปชุมชนจะต้อง

                     อาศัยพันธมิตร หรือเครือข่ายที่เกี่ยวข้องร่วมกันจัดการ

                            2. บทบาทของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง
                             การด าเนินกิจกรรมใด ๆ ที่ชุมชนจะริเริ่ม หรือด าเนินการ ซึ่งก่อให้เกิดความผูกพนต่อ
                                                                                                        ั
                     การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทยั่งยืน การก าหนดมาตรฐาน มาตรการบังคับใช้ตามกฎหมาย เพื่อรักษา
                                                  ี่
                     ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อมให้มีคุณภาพได้มาตรฐานสากลแล้ว หน่วยงาน

                     ภาครัฐจะต้องเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งทางตรงและทางออม ประเด็นการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
                                                                                ้
                     หน่วยงานที่จะต้องเข้ามาเกี่ยวข้องโดยตรงที่ส าคัญ คือ หน่วยงานของรัฐในพนที่ เช่น องค์การบริหาร
                                                                                       ื้

                     ส่วนต าบล (อบต.) เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เป็นต้น หน่วยงานเหล่านี้มีอานาจ
                     ตามหน้าที่ มีกฎหมายที่มีผลบังคับใช้ และมีงบประมาณที่จะด าเนินการ ดังนั้น การพัฒนาใด ๆ ที่จะเกิดขึ้น
                         ื้
                     ในพนที่ชุมชนจะต้องน าเสนอและผ่านการเห็นชอบ หรือร่วมหารือกับหน่วยงานเหล่านี้ หน่วยงาน
                     ที่รับผิดชอบด้านการท่องเที่ยว คือ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (กก.) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
                     (ททท.) ซึ่งมีภาระหน้าที่หลักต่อการพัฒนา อนุรักษ์ฟื้นฟู และส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศ

                            3.3.3 แนวการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการรองรับ

                                             ั
                             แนวทางในการพฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนให้เกิดประสิทธิภาพ  จะต้องค านึงถึง
                     ขีดความสามารถในการรองรับสภาพทางกายภาพ ชุมชน ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิต
                     โดยให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการจัดการแหล่งท่องเที่ยว เพื่อก่อให้เกิดการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม
                     และชุมชนต้องมีความยินดีต่อการจัดการด้านพื้นที่เพอเป็นแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
                                                                ื่
                             ขีดความสามารถในการรองรับของพนที่ในการพฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยว หมายถึง ปริมาณ
                                                           ื้
                                                                     ั
                     นักท่องเที่ยวสูงสุดที่สามารถอยู่ได้ด้วยความพอใจ และได้รับสิ่งอานวยความสะดวกอย่างเหมาะสมในพื้นที่

                     ของแหล่งท่องเที่ยวหนึ่ง ๆ โดยไม่ท าให้สภาพแวดล้อมถูกท าลายหรือถูกท าลายน้อยที่สุด ยังคงรักษาสภาพ
                     การเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ดีไว้มากที่สุด ทั้งนี้ การพฒนาการท่องเที่ยวจะต้องไม่กระทบต่อความจ าเป็น
                                                                ั
                     พื้นฐาน และความรู้สึกนึกคิดของประชาชนในท้องถิ่นด้วย (บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา, 2542)
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72