Page 70 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 70

บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง     59





                              - ต้องมีความยั่งยืน ทั้งทรัพยากรการท่องเที่ยวและการใช้ประโยชน์จากการท่องเที่ยว
                              - ประชาชนท้องถิ่นต้องมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง ตั้งแต่ร่วมคิด ร่วมท า และ ร่วมประเมินติดตามผล
                              - เป็นการน ารายได้หรือประโยชน์อื่น ๆ มาสู่ชุมชน

                              - ต้องเป็นการให้ประสบการณ์นันทนาการที่ดีแก่นักท่องเที่ยว

                     บทสรุป

                                                                                     ั
                             การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism) ได้น าหลักการพฒนาอย่างยืนมาประยุกต์ใช้
                        ื่
                     เพอให้เกิดการอนุรักษ์ และบริโภคทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
                     มีหลักและวิธีการที่ต้องค านึงถึงแตกต่างกันไปตามประเภทของทรัพยากร การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจึงเป็น
                     ทั้งรูปแบบการท่องเที่ยวและวิธีการใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า และท าให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ

                     อนจะน าไปสู่การพฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมต่อไป ในบทนี้ ผู้เรียนจะได้ศึกษาถึงหลักการของการพฒนา
                                                                                                        ั
                       ั
                                     ั
                                                                                        ื่
                                   ื่
                                                                                                      ิ
                     การท่องเที่ยวเพอน าไปสู่ความยั่งยืน คุณลักษณะการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เพอประกอบการพจารณา
                                           ั
                                                                       ั
                     แนวทางของแผนในการพฒนาทรัพยากร การอนุรักษ์ และพฒนาทรัพยากรเป็นหน้าที่ของทุกฝ่าย ภาครัฐ
                     มีหน้าที่ในการปกป้องดูแล คุ้มครอ งและบริหารการใช้ทรัพยากร ภาคเอกชนมีหน้าที่เป็นผู้ให้โอกาส
                     ทางธุรกิจ โดยค านึงถึงการบริโภคอย่างรู้คุณค่า ภาคประชาชนในฐานะที่เป็นทั้งผู้ใช้ประโยชน์จาก
                     ทรัพยากรและในฐานะเจ้าของทรัพยากร จึงมีหน้าที่โดยตรงที่ต้องรู้ค่า ใช้อย่างพอดี และสอดส่องดูแล
                     สินทรัพย์ของตน จะเห็นได้ว่าถึงแม้แต่ละฝ่ายต่างมีบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน แต่มีเป้าที่มุ่งสู่ความยั่งยืน
                     เช่นเดียวกัน


                     ค าถามทบทวน

                             1. ให้นิสิตดูวีดีทัศน์เรื่อง “CBT วิถีท่องเที่ยว วิถีพอเพยง” แล้วให้นิสิตวิเคราะห์กรณีศึกษา
                                                                            ี
                     แต่ละแห่งที่แสดงในวีดีทัศน์ว่าเป็นการท่องเที่ยวที่อย่างยั่นหรือไม่ พิจารณาจากอะไร
                             https://www.youtube.com/watch?v=evjP6_M_yhk

                             2. ใครคือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการพฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบ้าง และแต่ละภาคส่วน
                                                             ั
                     มีบทบาทอย่างไร ให้นิสิตยกตัวอย่าง ร่วมกันวิเคราะห์ และส่งตัวแทนน าเสนอหน้าชั้นเรียน

                     เอกสารอ้างอิง

                     คณะวนศาสตร์. (2549). การศึกษาขีดความสามารถในการรองรับได้ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่.
                           กรุงเทพฯ: คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
                     ณัฏฐกฤษฏิ์ เอกวรรณัง. (2558). เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากร
                           การท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

                     ดรรชนี เอมพันธุ์. (2546). เอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการวางแผนการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์.
                           กรุงเทพฯ: ภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
                     ธนธรณ์ ทองหอม. (2551). การจัดการการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ส านักงานพัฒนา
                           การท่องเที่ยว.

                     นพดล กรุดนาค. (2541) การศึกษาขีดความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยว: ศึกษาเฉพาะกรณี
                           หมู่เกาะพีพี จังหวัดกระบี่. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
                     บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์

                           มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75