Page 65 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 65

บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง     54





                     โบราณสถานให้ค านึงถึงความมั่นคง แข็งแรง ความงดงาม และความเป็นเอกภาพทางสถาปัตยกรรม
                     การเคลื่อนย้ายของเดิมและของใหม่เข้าแทนที่ ต้องท าโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่เข้าช่วย
                                                                                                           ี
                                                                                                      ื่
                             นอกจากนี้แล้ว ยังมีแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวประเภทวัฒนธรรมอน ๆ อก
                     ได้แก  ่
                               - การปลูกฝังให้เห็นคุณค่าของทรัพยากรการท่องเที่ยว
                               - การจัดงานประเพณีหรือกิจกรรม ประเพณีหรือกิจกรรมเป็นสิ่งที่มีค่าของท้องถิ่น จึงควรจัด
                                  ื่
                                                                                                ี
                     งานเทศกาลเพอเป็นการส่งเสริมประเพณีและกิจกรรมเหล่านั้นให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย อกทั้งยังถือเป็น
                     การอนุรักษ์ประเพณีอีกด้วย
                               - การส่งเสริมสินค้าหัตถกรรมพนเมือง เนื่องจากสินค้าหัตถกรรมพนเมืองเป็นภูมิปัญญาของ
                                                          ื้
                                                                                       ื้
                     คนในท้องถิ่นที่มีการสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน จึงควรส่งเสริมให้มีการผลิตสินค้าหัตถกรรมให้เป็นที่รู้จัก
                     ของคนโดยทั่วไป รวมถึงนักท่องเที่ยวด้วยก็ได้

                               - การดูแลรักษาความสะอาด ชุมชนและนักท่องเที่ยวควรร่วมกันดูแลรักษาสถานอนเป็นแหล่ง
                                                                                                   ั
                                                                              ื่
                     ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมให้อยู่ในความสะอาด เรียบร้อย สวยงาม เพอสร้างแรงดึงดูดใจให้แก่นักท่องเที่ยว
                     อยากเดินทางกลับมาท่องเที่ยวอีก

                             3.4.2 แนวคิดผู้มส่วนได้ส่วนเสียต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
                                           ี
                             ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางการท่องเที่ยว (Tourism Stakeholders) เป็นหนึ่งในแนวคิดที่ถูกกล่าวถึง

                                                    ั
                     มากที่สุด เมื่อมีการกล่าวถึงการพฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน Swarbrooke (2001) ได้แบ่งผู้มี
                                          ั
                     ส่วนได้ส่วนเสียในการพฒนาการท่องเที่ยวไว้ 5 กลุ่ม คือ 1) ภาครัฐ 2) นักท่องเที่ยว 3) คนในชุมชน
                                                            ื่
                                                                            ิ
                     4) ผู้ประกอบการหรือภาคธุรกิจ และ 5) อน ๆ เช่น องค์กรอสระ หรือ NGOs (Non-Government
                     Organization) นอกจากนี้ Hardy and Beeton ( 2001) และ Leiper (1995) กล่าวว่า ความรู้และ
                     ประสบการณ์ในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ยังมีความส าคัญอย่างยิ่งต่อ
                                                        ั
                     การวางแผน และก าหนดกระบวนการพฒนาแหล่งท่องเที่ยวในระยะยาว Hardy and Beeton (2001)
                                    ิ่
                                                                                                     ั
                     ยังให้ข้อคิดเห็นเพมเติมว่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางการท่องเที่ยวในแต่ละพื้นที่มีบทบาทที่แตกต่างกนออกไป
                                                                                                    ื่
                                                                  ื้
                                                                                                ้
                     เช่น ภาครัฐมีบทบาทส าคัญในการพฒนาโครงสร้างพนฐาน ระบบขนส่ง น้ าประปา ไฟฟา เพอให้ระบบ
                                                    ั
                     การเดินทางท่องเที่ยวเป็นไปอย่างราบรื่น ในขณะที่ภาคธุรกิจให้ความส าคัญต่อการพฒนาสินค้าและ
                                                                                               ั
                                                                                                  ึ
                     ผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองความต้องการ หรือการน าเสนอการบริการที่มีคุณภาพเพอสร้างความพงพอใจให้กับ
                                                                                       ื่
                     ลูกค้าเป็นหลัก ส่วนนักท่องเที่ยวก็มักให้ความส าคัญกับการคุณภาพของสินค้าและบริการที่ตนจะได้รับ
                                                                                     ั
                     จะเห็นได้ว่า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีบทบาทส าคัญต่อการก าหนดทิศทางและอตลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยว
                                                  ั
                     (Freeman, 1984) ดังนั้น ในการพฒนาแหล่งท่องเที่ยวจึงควรเริ่มจากการจ าแนกว่าใครคือผู้มีส่วนได้ส่วน
                     เสีย และแต่ละภาคส่วนมีบทบาทในการพฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างไร นอกจากนี้ Dabphet (2013)
                                                          ั
                                                                                         ั
                     ได้แบ่งคุณลักษณะของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ส่งผลต่อการก าหนดบทบาทในการพฒนาแหล่งท่องเที่ยวไว้
                     4 ประการ คือ 1) เป็นผู้มีอ านาจ (Power) หมายถึง สามารถตัดสินใจในระดับนโยบายในกิจการที่สนับสนุน
                                                                  ื้
                     การท่องเที่ยว เช่น จัดสรรงบประมาณ การก าหนดพนที่ใช้ประโยชน์ ไปจนถึงการควบคุมหรือบังคับใช้
                     กฎหมายที่เกี่ยวข้อง หรือก าหนดแนวปฏิบัติได้ 2) เป็นผู้มีความส าคัญ (Importance) หมายถึง เป็นบุคคล
                     หรือกลุ่มบุคคลที่เป็นกลไกส าคัญในกิจการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ถ้าไม่มีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลนี้ กิจกรรม

                     ทางการท่องเที่ยวไม่สามารถด าเนินไปจนบรรลุผลส าเร็จได้ 3) เป็นผู้มีความรู้ (Knowledge) หมายถึง
                                                                                                           ิ
                     มีภูมิความรู้ที่ใช้ในการสนับสนุนการด าเนินงานด้านการท่องเที่ยว เช่น การคาดการณ์ การวางแผน การคด
                     วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล เพื่อเป็นแนวทางหรือก าหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวได้ และ 4) เป็นผู้มี
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70