Page 61 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 61

บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง     50





                            3.3.1 ลักษณะของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
                             การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้
                               1. เป็นการท่องเที่ยวที่มความต่อเนื่อง (Continuity) หมายถึง ความต่อเนื่องของ
                                                      ี
                     ทรัพยากรธรรมชาติ และความต่อเนื่องของวัฒนธรรมซึ่งจัดเป็นทรัพยากรหลักในการท่องเที่ยว และ
                     สามารถมอบประสบการณ์นันทนาการที่ดีให้แก่นักท่องเที่ยว
                               2. เป็นการท่องเที่ยวที่มคุณภาพ (Quality) หมายถึง การเน้นคุณภาพของสามส่วนหลัก คือ
                                                    ี
                     คุณภาพของสิ่งแวดล้อม คุณภาพของประสบการณ์ นันทนาการที่นักท่องเที่ยวได้รับ และคุณภาพชีวิต
                     ของคนในชุมชน

                                                    ี
                               3. เป็นการท่องเที่ยวที่มความสมดุล (Balance) หมายถึงความสมดุลระหว่างความต้องการ
                     อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ความต้องการของชุมชนท้องถิ่นและขีดความสามารถของทรัพยากร
                             เนื่องจากขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวมีอยู่จ ากัด (Carrying Capacity) ในขณะที่

                                                ิ่
                                                                       ุ
                                                                  ื่
                     จ านวนนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มเพมขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นเพอให้อตสาหกรรมการท่องเที่ยวสามารถเติบโตต่อไป
                     ได้ระยะยาวจึงมีความจ าเป็นจะต้องวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน
                     3.4 แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism and Related
                     Approaches)
                             เนื่องจากการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เป็นแนวคิดที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกับปัจจัยต่าง ๆ

                                                          ื้
                     ในแหล่งท่องเที่ยวไม่ว่าจะเป็นลักษณะของพนที่ สภาพการณ์ปัจจุบัน บริบทด้านสังคมหรือประวัติศาสตร์
                     ตลอดจนนโยบาย การเมือง ท าให้ต้องอาศัยการบูรณาการความรู้จากศาสตร์ที่เกี่ยวข้องหลายแขนง
                     ซึ่งจะยกตัวอย่างแนวคิดที่ถูกน ามาปรับใช้กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ดังต่อไปนี้

                            3.4.1 แนวคิดการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
                             การอนุรักษ์ หมายถึง การรักษาไว้ให้นานที่สุด และสามารถน ามาใช้ให้เป็นประโยชน์มากที่สุด

                     ดังนั้น การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว หมายถึง การรักษาคุณภาพและคุณค่าของทรัพยากร
                                                                                                      ื่
                     การท่องเที่ยวไว้ให้นานที่สุด โดยรู้จักใช้ทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างชาญฉลาดใช้อย่างพอดี เพอให้เกิด
                     ประโยชน์ได้นาน และมีเหลือเพียงพอต่อการใช้ประโยชน์ในอนาคตสืบไป

                              ณัฏฐกฤษฏิ์ เอกวรรณัง (2558) ได้กล่าวถึงหลักการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
                     ดังรายละเอียด ต่อไปนี้
                            หลักการที่ 1 การใช้แบบยั่งยืน หมายถึง การใช้ทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างชาญฉลาด (Wise
                     Use) ให้สามารถใช้ได้อย่างยาวนาน และไม่ท าลายทรัพยากรการท่องเที่ยว หรือสิ่งแวดล้อมของทรัพยากร
                     การท่องเที่ยว

                                                ู
                                             ื้
                            หลักการที่ 2 การฟนฟสิ่งที่เสื่อมโทรม กล่าวคือ เมื่อมีการใช้ทรัพยากรการท่องเที่ยวแล้วย่อมมี
                                                                                                          ื้
                     ความเสื่อมโทรมเกิดขึ้นบ้างไม่มากก็น้อย ซึ่งหากมีความเสื่อมโทรมเกิดขึ้นเมื่อใดก็ต้องท าการฟนฟ  ู
                     ให้ทรัพยากรการท่องเที่ยวกลับมามีคุณภาพที่ดีดังเดิม เพื่อที่จะสามารถใช้ได้อย่างยาวนานต่อไป
                            หลักการที่ 3 การสงวนของหายาก หมายถึง หากมีทรัพยากรการท่องเที่ยวบางชนิดที่มีอยู่อย่าง
                                                      ื
                     จ ากัด หรือหายาก เช่น สัตว์ป่าหรือพชบางชนิดก็ควรท าการสงวนทรัพยากรนั้นไว้ก่อนยั งไม่ควรน า
                     ทรัพยากรนั้นมาใช้เพื่อการท่องเที่ยว โดยควรรอให้ทรัพยากรนั้นมีจ านวนมากขึ้นจึงค่อยน ามาใช้ประโยชน์
                            แนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนสอดคล้องโดยตรงกับแนวคิดการอนุรักษ์ทรัพยากรทางการ

                     ท่องเที่ยวซึ่งหมายถึง การใช้การดูแลรักษาทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มีอยู่อย่างถูกต้อง เพื่อให้คงสภาพไว้ให้
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66