Page 60 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 60
บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง 49
่
7. การประสานความร่วมมอระหวางผู้ประกอบการ ประชาชนท้องถิ่น องค์กรและสถาบัน
ื
ที่เกี่ยวข้อง (Consulting Stakeholders and the Public) เพอลดข้อขัดแย้ง และร่วมแก้ปัญหา
ื่
ผู้รับผิดชอบการพัฒนาการท่องเที่ยวต้องประสานกับพหุภาคี ได้แก ่
1) ชุมชนในพื้นที่
2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3) กลุ่มผู้ประกอบการท่องเที่ยว
4) สถาบันการศึกษา
5) สถาบันการศาสนา
ื้
ิ่
6) หน่วยงานราชการที่รับผิดชอบในพนที่ร่วมประชุมปรึกษาหารือ ทั้งการเพมศักยภาพให้กับ
แหล่งท่องเที่ยว การประเมินผลกระทบการท่องเที่ยว การแก้ไขปัญหาที่เกิดจากผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
และด้านการตลาด โดยจัดการประชุมกันอย่างสม่ าเสมอเพอร่วมปฏิบัติในทิศทางเดียวกัน เป็นการลด
ื่
ข้อขัดแย้งในผลประโยชน์ที่ต่างกัน เช่น การก าหนดราคาค่าบริการรถโดยสาร หรือค่าเช่าเรือ ควรเป็น
มาตรฐานเดียวกัน
8. เป็นการฝึกอบรมบุคลากร (Training Staff) โดยสอดแทรกแนวคิดและวิธีปฏิบัติในการ
ั
พฒนาแบบยั่งยืนแก่บุคลากรท้องถิ่นทุก ๆ ระดับ เพอยกระดับการบริการการท่องเที่ยว การให้ความรู้
ื่
การฝึกอบรม หรือการส่งพนักงานไปดูงานอย่างสม่ าเสมอ ท าให้มีความรู้ มีแนวคิด และวิธีปฏิบัติในการ
พฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน นับเป็นการพฒนาบุคลากรในองค์กร เป็นการช่วยยกระดับมาตรฐาน
ั
ั
การบริการการท่องเที่ยว เช่น การอบรมนักสื่อความหมายด้านวัฒนธรรม เป็นต้น
9. ข้อมลข่าวสารที่สื่อให้กับนักท่องเที่ยว (Marketing Tourism Responsibly) โดยมุ่งสร้าง
ู
ความเข้าใจในการเคารพต่อธรรมชาติ สังคม และวัฒนธรรมที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว อกทั้งเป็นการช่วย
ี
ึ
ยกระดับความพงพอใจของนักท่องเที่ยวอกทางหนึ่ง ผู้รับผิดชอบการพฒนาการท่องเที่ยวจะต้องร่วมกับ
ั
ี
ี
ผู้ที่เกี่ยวข้องจัดเตรียมข้อมูลข่าวสารการท่องเที่ยว หรือข่าวสารการบริการการขายให้พร้อม และเพยงพอ
ต่อการเผยแพร่ อาจท าในรูปสื่อทัศนูปกรณ์รูปแบบต่าง ๆ เช่น คู่มือท่องเที่ยว วิดีโอแนะน า แผ่นพับ เป็นต้น
ิ
ื่
10. การวจัยและติดตามผล (Undertaking Research) เพอตรวจสอบประสิทธิภาพในการ
ุ
ด าเนินงาน รวมทั้งปัญหาและอปสรรคต่าง ๆ เพอน าไปสู่แนวทางการแก้ไขที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้อง
ื่
ทุกฝ่าย ผู้รับผิดชอบการพฒนาการท่องเที่ยวและผู้ประกอบการจะต้องมีการประเมินผล การตรวจสอบ
ั
ผลกระทบ และการศึกษาวิจัยอย่างสม่ าเสมอ ได้แก ่
1) การสอบถามผู้ใช้บริการโดยตรง
2) การสอบถามความเห็นด้วยใบประเมินผล
3) การวิจัยตลาดการท่องเที่ยว
ทั้งนี้ เพอให้ทราบผลของการบริการ และน ามาปรับปรุงแก้ไขการจัดการ และการบริการให้มี
ื่
่
ประสิทธิภาพเพื่อความประทับใจและความพึงพอใจของนักทองเที่ยว
จากหลักของการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน และหลักการจัดการการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนจะเห็นได้ว่า
มีความเกี่ยวพนกับทรัพยากรกรการท่องเที่ยว กล่าวคือ ทรัพยากรการท่องเที่ยวเป็นพนฐานส าคัญในการ
ื้
ั
ท่องเที่ยวแบบยั่งยืน และถูกน ามาใช้เป็นส่วนประกอบของการจัดการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนโดยทรัพยากร
ั
การท่องเที่ยวต้องถูกน ามาใช้อย่างชาญฉลาด ต้องท าการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว และต้องพฒนา
ื่
ทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนด้วย เพอให้บรรลุหลักของการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนทั้ง 4 ประการ
ที่กล่าวมาข้างต้น