Page 58 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 58
บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง 47
- มีการวางแผนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น กลยุทธ์ แผนการจัดการผสมผสาน
ทางด้านการท่องเที่ยว ทั้งในระดับท้องถิ่น ภูมิภาคและระดับประเทศ
- บทบาทของขีดความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยวและดัชนีชี้วัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
โดยที่ขีดความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยว และดัชนีชี้วัดการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนจะเป็นข้อมูล
ที่ช่วยในการตัดสินใจการพัฒนาการท่องเที่ยว
- การหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง โดยให้การมีส่วนร่วมของประชาสังคมและชุมชนท้องถิ่นร่วมวางแผน
ั
ตัดสินใจพฒนา ปฏิบัติการ และประเมินผลร่วมกัน และสร้างกรอบแนวความคิดและทิศทางการท่องเที่ยว
ของชุมชนในอนาคตเอง
ั
- มุ่งพฒนาบุคลากรในท้องถิ่นให้มีความรู้ความสามารถเพมขึ้น อันจะช่วยยกระดับการบริการ
ิ่
ท่องเที่ยวให้สูงขึ้น
- มุ่งกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น เพอน ารายได้เข้าท้องถิ่นให้มากที่สุด อันจะเป็นประโยชน์ในระยะยาว
ื่
ของชุมชนท้องถิ่น
3.3 หลักการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Principles of Sustainable Tourism
Development)
หลักการเบื้องต้นในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (UNWTO, 1997)
1) มีการด าเนินการจัดการภายใต้ขีดความสามารถของระบบธรรมชาติ (Carrying Capacity)
โดยตระหนักถึงการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน (Local Participation) และความต้องการของชุมชน
(Local Needs)
2) มีการกระจายผลประโยชน์อย่างเป็นธรรมสู่ท้องถิ่น (Equity)
3) ให้ประสบการณ์นันทนาการที่มีคุณค่าแก่นักท่องเที่ยว (Quality of Experience)
4) เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่ ทรัพยากร และวิถีชีวิต (Education and Understanding)
5) เน้นการออกแบบที่กลมกลืนกับสถาปัตยกรรมท้องถิ่นและใช้วัสดุในท้องถิ่น (Local Architecture
and Local Material)
ั
6) เน้นการผสมผสานการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนสู่แผนพฒนาระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และระดับประเทศ
(Integration of Sustainable Tourism to Local, Regional and National Plans)
ื่
ื้
7) เน้นข้อมูลพนฐานเพอเป็นฐานการตัดสินใจและการติดตามตรวจสอบ (Information and
Monitoring)
ั
การพฒนาการท่องเที่ยวอย่างยืน มีหลักการส าคัญ 10 ประการ ให้ไว้โดย Tourism Concern
(1991) ของสมาคม Worldwide Fund for Nature (WWF) ดังนี้
1. การอนุรักษ์และการใช้ทรัพยากรอย่างพอดี (Using Resource Sustainable) ทั้งในส่วนที่
เป็นทรัพยากรธรรมชาติ สังคม และวัฒนธรรม เป็นสิ่งส าคัญและเน้นการท าธุรกิจในระยะยาว หมายถึง
ผู้รับผิดชอบการพฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยว ต้องมีวิธีการจัดการการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่เดิมทั้งมรดก
ั
ี
ทางธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรมที่มีอยู่อย่างดั้งเดิมอย่างเพยงพอ หรือใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้อย่างประหยัด ต้องค านึงถึงต้นทุนอนเป็นคุณค่า และคุณภาพของธรรมชาติ ต้นทุนทางวัฒนธรรม และ
ั
ั
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งปัจจัยส าคัญประกอบอยู่ด้วย การพฒนาต้องยังคงความเป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิมไว้ให้
ั
ื้
มากที่สุด เกิดผลกระทบอนเป็นผลเสียน้อยที่สุด โดยใช้ภูมิปัญญาพนบ้านประยุกต์เข้ากับเทคโนโลยี
แบบใหม่ การใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและเหมาะสมนั้นสามารถช่วยให้สามารถด าเนินธุรกิจได้อย่างยาวนาน