Page 54 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 54
บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง 43
การท่องเที่ยวทางเลือก การท่องเที่ยวสีเขียว การท่องเที่ยวชนบท การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยว
เชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
3.1.2 ความส าคัญของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ความส าคัญของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน สามารถแบ่งออกเป็นหลายด้าน ได้แก่
ความส าคัญด้านจิตวทยา เพราะเป็นสิ่งดึงดูดใจให้มีการเดินทางท่องเที่ยวตามความสนใจ หรือ
ิ
ความชอบที่แตกต่างกันของนักท่องเที่ยว ท าให้เกิดความสุข ผ่อนคลาย ความตึงเครียด และยังท าให้เกิด
ั
่
่
การเรียนรู้ในสิ่งที่นักทองเที่ยวไม่เคยพบมาก่อน นอกจากนี้ ยังสามารถช่วยเปิดโลกทศน์ให้กับนักทองเที่ยว
เพราะท าให้ได้สัมผัสของจริง ได้รับประสบการณ์ตรง เกิดโลกทัศน์ที่กว้างไกล ประทับใจ และเกิดความรัก
และหวงแหนในทรัพยากรการท่องเที่ยวเหล่านั้น
ความส าคัญด้านเศรษฐกิจ เพราะเป็นแหล่งที่มาของรายได้ทั้งของภาครัฐ ภาคธุรกิจ และของชุมชน
ในท้องถิ่น ท าให้เกิดที่มาของงานและอาชีพต่าง ๆ ที่จะบริการ ตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว
ได้ตามความพึงพอใจ
ความส าคัญทางด้านสังคม เพราะเป็นการช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนจากการที่เป็น
แหล่งท่องเที่ยว ท าให้มาตรฐานการครองชีพของประชาชนดีขึ้นยู่ดีมีสุขนี้ และยังช่วยให้เกิดความภาคภูมิใจ
ของประชาชนในพื้นท ี่
ั
ความส าคัญด้านวฒนธรรม เพราะการที่ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีต่าง ๆ เป็นเอกลักษณ์ของชาติ
สะท้อนให้เห็นคุณค่าของบรรพบุรุษ และภูมิปัญญาของไทยในอดีต ซึ่งเป็นความรู้ที่สามารถน าไปเป็น
แนวทางในการด ารงชีวิตของคนในรุ่นปัจจุบัน และรุ่นต่อ ๆ ไป ซึ่งถือเป็นความยั่งยืนของศิลปวัฒนธรรมไทย
ความส าคัญด้านสิ่งแวดล้อม เพราะการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจะเน้นการอนุรักษ์ทรัพยากร
การท่องเที่ยวโดยเฉพาะสิ่งแวดล้อม ที่เป็นปัจจัยหลักของการท่องเที่ยวให้คงอยู่ในสภาพที่ยั่งยืน ไม่เสื่อม
สลาย โดยเฉพาะการสร้างจิตส านึก และมีระบบการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้
คนรุ่นหลังได้ใช้ประโยชน์สืบไป
สรุปความส าคัญของการท่องเที่ยวอย่างยงยืน
ั่
เป็นการท่องเที่ยวที่สนองตอบความต้องการของนักท่องเที่ยว และผู้เป็นเจ้าของแหล่งท่องเที่ยว
โดยเน้นการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพอให้สามารถรักษาความมั่นคงของระบบนิเวศ ตลอดจน
ื่
วัฒนธรรมและวิถีชีวิต ชุมชน โดยเน้นการมีส่วนร่วมเพอให้เกิดประโยชน์ของแหล่งท่องเที่ยวทั้งในปัจจุบัน
ื่
และอนาคต ทั้งนี้ เพอก่อให้เกิดความสุขทั้งของนักท่องเที่ยวและชุมชน ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ื่
ิ่
เพราะนอกจากจะมีรายได้เพมขึ้นและยังมีมาตรฐานชีวิตที่ดีขึ้น ขนบธรรมเนียมประเพณีได้รับการส่งเสริม
อนุรักษ์ โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้รับการเอาใจใส่ดูแล เพื่อให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ยั่งยืนต่อไป
3.2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism Development)
Canadian University Consortium, Urban Environmental Management (CUC EUM)
(2000) กล่าวว่า การพฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนนั้น ทั้งนักท่องเที่ยวในปัจจุบันและประชาชน
ั
ี
ในท้องถิ่นร่วมกันพทักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีโอกาสเกิดการท่องเที่ยวได้ในอนาคตอก ซึ่งเป็นการจัดการกับ
ิ
ทรัพยากรทุกประเภท รวมถึงการรักษาสุนทรียภาพ เศรษฐกิจและสังคม วัฒนธรรม ระบบนิเวศวิทยา
ความหลากหลายทางชีวภาพไว้ได้
Gibbon (2016) ได้กล่าวว่า การพฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน หมายถึง ความต้องการในการ
ั
เพมจ านวนนักท่องเที่ยวด้วยวิธีการที่พงพอใจอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการตอบสนองความต้องการของ
ิ่
ึ