Page 51 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 51

บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง     40





                                                             บทที่ 3

                                     การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง

                                (Sustainable Tourism and Related Approaches)



                     บทน า
                              “การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน” เกิดจากการผสมผสานระหว่างแนวคิดการพฒนาอย่างยั่งยืน
                                                                                              ั
                                                                ั
                     (Sustainable Development) และแนวคิดการพฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยว จนเกิดเป็นรูปแบบ
                     การท่องเที่ยวที่ให้ความส าคัญกับการอนุรักษ์ ฟนฟ และห่วงใยสิ่งแวดล้อม น าไปสู่แนวคิดในการสร้าง
                                                                 ู
                                                              ื้
                             ิ่
                     มูลค่าเพมจากฐานทรัพยากรในรูปแบบหรือกิจกรรมการท่องเที่ยวต่าง ๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
                     สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนเจ้าของท้องถิ่น และให้คุณค่ากับทรัพยากรทางสังคมวัฒนธรรม
                     ในแหล่งท่องเที่ยว บทนี้จะกล่าวถึงแนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน แนวทางการพฒนาการท่องเที่ยว
                                                                                            ั
                     อย่างยั่งยืน และแนวคิดที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ

                     3.1 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism)

                             ความยั่งยืน (Sustainability) หมายถึง ความสามารถที่จะด ารงอยู่ได้ หรือการรักษาให้ชีวิตด ารง
                                                        ั
                                                                                                    ั
                     อยู่ได้ มักใช้ค านี้ควบคู่กับค าว่า “การพฒนา” (Development) อยู่เสมอ ซึ่งค าว่า “การพฒนาอย่าง
                                         ั
                     ยั่งยืน” หมายถึง การพฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
                                                                            ั
                     อย่างฉลาด ถูกต้องตามหลักวิชาการ มีการบ ารุงรักษาและใช้ในอตราที่จะก่อให้เกิดการทดแทนกันได้ทัน
                     อย่างต่อเนื่อง เพอจะได้มีทรัพยากรใช้ต่อไปในอนาคต รวมทั้งการเสริมสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อม
                                     ื่
                     เพอคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากร การพฒนาต้องค านึงถึงความเสียหายของสิ่งแวดล้อม และการป้องกัน
                                                       ั
                       ื่
                     ปัญหาความเสื่อมโทรมที่จะเกิดกับสิ่งแวดล้อมด้วย การพัฒนาอย่างยั่งยืนมีหลักการส าคัญคือ การค านึงถึง
                     ขีดความสามารถในการรองรับของพนที่ ทั้งระบบนิเวศ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมท้องถิ่น
                                                       ื้
                     แนวความคิดด้านความยั่งยืนได้ใช้กันอย่างกว้างขวางในทุกสาขาวิชาอาชีพ เช่น การเกษตรแบบยั่งยืน
                     ชุมชนยั่งยืน การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

                             3.1.1 แนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
                             องค์การท่องเที่ยวโลก (World Tourism Organization: WTO) กล่าวว่า “การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

                                                                                                   ุ
                     เป็นรูปแบบของการท่องเที่ยวที่ตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว และธุรกิจในอตสาหกรรม
                     การท่องเที่ยวและชุมชนเจ้าของท้องถิ่นในปัจจุบัน โดยไม่ลดทอนความสามารถในการตอบสนองความ
                     ต้องการของคนในอนาคต” (Sustainable tourism is the forms of tourism which meet the needs
                     of tourists, the tourism industry, and host communities today without compromising the
                     ability of future generations to meet their own needs) โดยองค์การท่องเที่ยวโลก ยังได้อธิบาย

                     คุณลักษณะของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ไว้ว่า
                             1) เป็นการท่องเที่ยวที่ใช้ประโยชน์สูงสุดจากทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นองค์ประกอบส าคัญ
                     ในการพฒนาการท่องเที่ยว และมีส่วนช่วยรักษากระบวนการทางระบบนิเวศที่จ าเป็น และช่วยอนุรักษ์
                            ั
                     มรดกทางธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ
                             2) ให้เคารพต่อความเดิมแท้ของสังคมวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่น มีส่วนในการอนุรักษ์คุณค่า
                     มรดกวัฒนธรรม ภูมิปัญญา แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสร้างความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56