Page 46 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 46
ี่
บทที่ 2 อุตสาหกรรมการท่องเทยวและจิตบริการ 35
อณหภูมิโลก ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือแหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรม เป็นปัจจัยส าคัญที่ส่งผล
ุ
ต่อระบบการท่องเที่ยวทั้งสิ้น
้
ปัจจัยเหล่านี้จะส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมต่ออปสงค์ทางการท่องเที่ยว อาทิ ส่งผลต่อ
ุ
การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของนักท่องเที่ยว หรือลูกค้าที่เข้าไปใช้บริการยังสถานประกอบการ ซึ่งภาคอุตสาหกรรม
บริการที่มีบทบาทเป็นผู้จัดเตรียมและส่งมอบบริการ จึงควรมีความพร้อมที่จะรับมือกับสภาพการณ์ที่ก าลัง
ถูกคุกคามจากปัจจัยภายนอกที่กล่าวข้างต้น
บทสรุป
ุ
ปัจจุบัน คงไม่อาจปฏิเสธได้ว่าอตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการมีส่วนส าคัญในการ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ประมาณร้อยละ 20 ของ GDP มาจากภาคการบริการ โดยประมาณ
ร้อยละ 12 มาจากการท่องเที่ยว มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวประมาณ 40 ล้านคนต่อปี
ุ
แหล่งท่องเที่ยวชุมชน รวมถึงธุรกิจต่าง ๆ ในอตสาหกรรมการท่องเที่ยวท าหน้าที่ในการรองรับจ านวน
นักท่องเที่ยวดังกล่าว ซึ่งหากขาดการบริหารจัดการที่ดีแล้ว ก็จะน ามาซึ่งความเสื่อมโทรมของทรัพยากร
อย่างหลีกเลี่ยงมิได้
เนื้อหาที่น าเสนอในบทนี้ มุ่งสร้างความเข้าใจให้กับนิสิตถึงความหมาย องค์ประกอบ และปัจจัย
แวดล้อมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการที่มีความซับซ้อน และนับวันทวีความหลากหลายมากขึ้น
ื่
ทั้งนี้เพอตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ุ
ุ
ั
อตสาหกรรมการท่องเที่ยวดังกล่าว จะท าให้นิสิตเกิดมุมมองต่อการพฒนาอตสาหกรรมการท่องเที่ยวและ
จิตบริการ ด้วยแนวคิดการพฒนาอย่างยั่งยืนที่แต่เดิมมักมองว่าประยุกต์ใช้ได้เพยงกับแหล่งท่องเที่ยว หรือ
ั
ี
ชุมชนท่องเที่ยว โดยไม่ละเลยการภาคธุรกิจการท่องเที่ยว ซึ่งมีบทบาทส าคัญในการเป็นผู้ให้บริการและ
สัมผัสกับนักท่องเที่ยวโดยตรง
ค าถามทบทวน
1. ให้นิสิตยกตัวอย่างธุรกิจที่มีคุณลักษณะสอดคล้องกับธุรกิจในอตสาหกรรมการท่องเที่ยวและ
ุ
จิตบริการ
ุ
2. ให้นิสิตอภิปรายการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยแวดล้อมทางธุรกิจที่ส่งผลกระทบต่ออตสาหกรรม
การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมจิตบริการ และแหล่งท่องเที่ยว
ุ
3. ให้นิสิตยกตัวอย่างการปรับตัวของธุรกิจในอตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการที่เกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เอกสารอ้างอิง
Bank of Thailand. (2017). Selected recent developments. Retrieved February 10, 2019,
from https://www.bot.or.th/Thai/Statistics/Graph/Pages/Tourism.aspx
Bell, D. (2008). Tourism and Hospitality. The Sage Handbook of Tourism Studies, 19-33.
Brotherton, B. (1999). Towards a definitive view of the nature of hospitality management.
International Journal of Contemporary Hospitality Management, 11(1), 165-173.
Brymer, R. (1995). Hospitality Management: An Introduction to the Industry. Dubuque:
Kendall/Hunt Publishing.