Page 62 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 62
บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง 51
นานที่สุด และก่อให้เกิดประโยชน์แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมากที่สุด ทรัพยากรการท่องเที่ยวนับได้ว่า
ุ
เป็นปัจจัยที่ส าคัญต่ออตสาหกรรมการท่องเที่ยว ตั้งแต่เป็นสถานที่ท่องเที่ยว เป็นสถานที่ประกอบธุรกิจ
น าเที่ยว เป็นสิ่งดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวเข้ามา ซึ่งหากไม่มีการวางแผนการจัดการการดูแลทรัพยากร
การท่องเที่ยวอย่างชาญฉลาด อาจส่งผลให้แหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรม ขาดการดูแล ซึ่งการอนุรักษ์
ทรัพยากรทางการท่องเที่ยวนั้นมีจุดมุ่งหมายที่ส าคัญหลายประการด้วยกัน ดังนี้
- เพื่อให้ทรัพยากรทางการท่องเที่ยวมีสภาพดั้งเดิมมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
- เพื่อลดผลกระทบจากการท่องเที่ยว หรือให้เกิดภาวะเสื่อโทรมน้อยที่สุด
- เพื่อให้ทรัพยากรการท่องเที่ยวเป็นสิ่งดึงดูดใจนักท่องเที่ยวมาเยือนในระยะยาว
ดังนั้น การอนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยวมิได้หมายถึง ห้ามไม่ให้ผู้ใดเข้าไปใช้ หรือแตะต้อง หรือ
เก็บรักษาไว้ ทั้งนี้ ทรัพยากรการท่องเที่ยวจะมีคุณค่าก็ต่อเมื่อถูกน ามาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
เกิดประโยชน์ต่อทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวจึงหมายถึง การน าทรัพยากร
การท่องเที่ยวมาใช้ให้ถูกต้องและเกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้ง พยายามบ ารุงรักษาให้คงสภาพเดิมไว้ให้
นานที่สุดเท่าที่จะท าได้
1) ความส าคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
ิ
ื่
(1) เพอธ ารงไว้ซึ่งปัจจัยส าคัญของระบบสิ่งแวดล้อมที่มีอทธิพลต่อมนุษย์และสัตว์ และระบบ
ื่
ื้
สนับสนุน การด ารงชีวิต เป็นการปรับปรุงป้องกันพนที่เพอการเพาะปลูก การหมุนเวียนแร่ธาตุอาหาร พืช
ตลอดจนการรักษาแหล่งน้ าให้สะอาด
2) เพอสงวนรักษาการกระจายของชาติพนธุ์ ซึ่งขึ้นกับโครงการขยายพนธุ์ต่าง ๆ ที่จ าเป็นต่อ
ื่
ั
ั
ื
การปรับปรุง การป้องกันธัญพช สัตว์เลี้ยง และจุลินทรีย์ต่าง ๆ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีตลอดจนการคุ้มครองอุตสาหกรรมนานาชาติที่ใช้ทรัพยากรที่มีชีวิตเป็นวัตถุดิบ
ื่
ั
ื่
ั
ื
3) เพอเป็นหลักประกันในการใช้พนธุ์พช พนธุ์สัตว์ และระบบนิเวศเพอประโยชน์ในการยังชีพ
ตามความเหมาะสม
4) เพอสงวน รักษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปกรรม ซึ่งเป็นมรดกล้ าค่าไว้ไปยังอนุชน
ื่
รุ่นหลัง รวมทั้งระบบสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น
5) เพื่อให้มีสถานที่ท่องเที่ยวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ
6) เพื่อสร้างงานให้แก่ประชาชน
7) ช่วยสร้างดุลการช าระเงินระหว่างประเทศ
8) ช่วยประชาสัมพันธ์ประเทศ
9) เป็นการรักษาทรัพยากรของชาติให้คงต่อไป
2) ประเภทของการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ หมายถึง การน าเอาทรัพยากรการท่องเที่ยว
ทางธรรมชาติ เช่น ภูเขา น้ าตก ถ้ า ทะเล อุทยานแห่งชาติ เขตสงวนพันธุ์สัตว์ป่า เขื่อน เป็นต้น มาใช้อย่าง
ชาญฉลาดให้เกิดประโยชน์ทางด้านการท่องเที่ยวให้มากที่สุด การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
ทางธรรมชาติต้องมีกระบวนการในการบริหารจัดการและวิทยากรใหม่ ๆ ดังนี้
ประเภทของแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก ่
1) ทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่หมด เปลือง หรือสูญหายไป (Inexhaustible Natural Resources) เช่น
วัฏจักรของน้ า อากาศ