Page 68 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 68
บทที่ 3 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง 57
1. ลักษณะของขีดความสามารถในการรองรับ (Types of Carrying Capacity)
ความสามารถในการรองรับทางด้านเศรษฐกิจ (Economic Carrying Capacity) เป็นระดับ
ื่
ั
การพฒนาการท่องเที่ยวเพอให้ระบบเศรษฐกิจได้รับผลตอบแทนสูงสุดภายใต้ข้อจ ากัด โดยไม่กระทบต่อ
การลงทุนและค่าครองชีพของชาวบ้านในพื้นที่
ความสามารถในการรองรับทางด้านกายภาพ (Physical Carrying Capacity) เป็นระดับ
ปริมาณนักท่องเที่ยวสูงสุดที่ไม่ท าลายสภาพแวดล้อมทางกายภาพของทรัพยากรการท่องเที่ยว รวมถึง
ระดับความอิ่มตัวของสิ่งอ านวยความสะดวกและการบริการในพื้นที่นั้น
ความสามารถในการรองรับทางสังคมและวฒนธรรม (Social and Culture Carrying
ั
ั
Capacity) เป็นระดับปริมาณนักท่องเที่ยวสูงสุดที่ไม่ท าให้ความสัมพนธ์ทางสังคม ศาสนา ประเพณี และ
ื่
วัฒนธรรมของท้องถิ่นถูกท าลายด้วยการให้บริการเพอตอบสนองความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
ความสามารถในการรองรับทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Carrying Capacity) เป็นระดับ
ปริมาณนักทองเที่ยวสูงสุดที่ไม่ท าให้สภาพแวดล้อม และระบบนิเวศในพนที่แหล่งท่องเที่ยวถูกท าลาย หรือ
ื้
่
ถูกใช้ไปอย่างไม่เป็นธรรมแก่คนท้องถิ่น
ความสามารถในการรองรับด้านความรู้สึก (Perceptual Carrying Capacity) เป็นระดับ
ปริมาณนักท่องเที่ยวสูงสุดที่ไม่ท าให้ความเป็นส่วนตัวของทั้งสองฝ่าย คือ คนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว
ขาดความรู้สึกความเป็นส่วนตัว
การก าหนดขีดความสามารถในการรองรับได้ทางการท่องเที่ยว (Tourism Carrying Capacity)
ื้
ถือเป็นเครื่องมือส าคัญที่น ามาประยุกต์ใช้กับกิจกรรมท่องเที่ยวของมนุษย์ที่มีผลต่อพนที่และสิ่งแวดล้อม
โดยการก าหนดจ านวนนักท่องเที่ยวให้มีปริมาณที่เหมาะสมกับความสามารถรองรับได้ของพนที่ ระบบ
ื้
สิ่งแวดล้อม และระบบการจัดการแหล่งนันทนาการ ตามแนวคิดที่ว่าปริมาณหรือจ านวนนักท่องเที่ยว
ื้
ดังกล่าวต้องไม่ท าให้เกิดผลกระทบต่อพนที่นั้นๆจนไม่สามารถด าเนินกิจกรรมและหน้าที่ได้อย่าง
ี
ั
ิ
เหมาะสมอกต่อไป (ดรรชนี เอมพนธุ์, 2546) นอกจากนี้ นพดล กรุดนาค (2541) กล่าวว่า การพจารณา
ขีดความสามารถในการรองรับมีมุมมองจากหลายด้าน ดังต่อไปนี้
ิ่
ิ
1) ด้านปริมาณนักท่องเที่ยวที่เพมขึ้น มีสิ่งที่ต้องพจารณา คือ ช่วงที่มีการเพมขึ้นอย่างรวดเร็ว
ิ่
ช่วงเวลาที่มีปริมาณพอเหมาะ และช่วงเวลาที่เพิ่มขึ้นสูงสุด
2) ด้านพื้นที่ สามารถพิจารณาได้ 3 พื้นที่ คือ 1) แหล่งที่มาของนักท่องเที่ยว เกี่ยวกับความพร้อม
ในการไปท่องเที่ยว 2) เขตต่อเนื่อง ระหว่างแหล่งที่มาถึงแหล่งท่องเที่ยว เกี่ยวกับความคับคั่งของ
ื้
ื้
ิ
ิ่
การเดินทาง 3) เขตเป้าหมายการท่องเที่ยว คือพนที่ท่องเที่ยวในพนที่จะพจารณาเกี่ยวกับความอมตัว
ใน ระดับที่จะท าลายสภาพแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยว
3) ด้านผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการพฒนาเกินขีดความสามารถในการรองรับ ได้แก่
ั
1) ผลกระทบต่อภาพลักษณ์ ซึ่งจะท าให้เกิดการลดลงของความดึงดูดใจของแหล่งท่องเที่ยว 2) ผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อมเดิมให้เสื่อมสภาพลง ทั้งด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และระบบนิเวศวิทยา
ขีดความสามารถในการรองรับได้ คือ จ านวนนักท่องเที่ยวสูงสุดที่แหล่งท่องเที่ยวจะรองรับได้ โดยไม่
ื้
ท าลาย หรือก่อให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และชุมชน พนที่ท่องเที่ยวที่มี
การจัดการเชิงอนุรักษ์ควรค านึงขีดความสามารถในการรองรับของพนที่นั้น ๆ ว่าสามารถรองรับนักท่องเที่ยว
ื้
ิ
ได้ประมาณกี่คน โดยสามารถพจารณาจากสิ่งอานวยความสะดวกในพนที่ เช่น จ านวนที่พก ที่จอดรถ รถ
ื้
ั
สาธารณะ กิจกรรมที่รองรับนักท่องเที่ยว ภูมิทัศน์ที่เริ่มเปลี่ยนแปลงไปจนมีผลกระทบต่อธรรมชาติรอบ ๆ
ั
ื้
พนที่ และที่ส าคัญจ านวนพนธุ์พชหรือพนธุ์สัตว์ที่หายากในพนที่เปราะบางลดลงหรือไม่ หรือแม้กระทั่ง
ื้
ั
ื