Page 74 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 74
ิ
บทที่ 4 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาต 63
นิเวศวิทยา และเป็นการท่องเที่ยวที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่ า มีความรับผิดชอบต่อระบบนิเวศ และ
สิ่งแวดล้อม อกทั้งยังเป็นการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจต่อชุมชน ให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมจัดการท่องเที่ยว
ี
และควบคุมจ านวนนักท่องเที่ยวด้วยตนเอง
4.1.1 นโยบายหลักของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได้ก าหนดนโยบายหลักเพอด าเนินการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ทั้งนี้
ื่
เพอให้ภาพรวมของการท่องเที่ยวในประเทศไทย มีความสอดคล้องกันทั้งระดับนโยบายและระดับ
ื่
ื้
การปฏิบัติการ นโยบายหลักนี้ให้ความส าคัญกับองค์ประกอบหลัก 4 ด้าน คือ องค์ประกอบด้านพนที่
การจัดการกิจกรรมและกระบวนการ รวมถึงการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น และก าหนดเป็นแนวทางไว้
10 ประการ คือ
1. ควบคุมดูแลรักษา และจัดการทรัพยากรให้คงสภาพเดิมแท้ไว้ให้มากที่สุด หลีกเลี่ยงหรืองดเว้น
การท่องเที่ยวในพื้นที่ที่อ่อนไหวง่ายต่อการถูกกระทบและฟื้นตัวได้ยาก
2. ค านึงถึงศักยภาพของทรัพยากร มีการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมและปรับตัวให้เกิดความสมดุลกับ
รูปแบบและกิจกรรมเดิมที่มีอยู่ พงหลีกเลี่ยงความขัดแย้งอย่างรุนแรงต่อการท่องเที่ยวรูปแบบอน ๆ หาก
ึ
ื่
เน้นในการแปรประโยชน์จากการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศสู่การจัดการท่องเที่ยวโดยรวม
ั
3. ค านึงถึงการพฒนาด้านการให้การศึกษา สร้างจิตส านึกที่ดีในการรักษาระบบนิเวศร่วมกัน
มากกว่ามุ่งเน้นความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและการมีรายได้เพียงอย่างเดียว
4. ให้ความส าคัญการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรท้องถิ่นในการจัดการทรัพยากร
การบริการ การแลกเปลี่ยนความรู้ และวัฒนธรรมชุมชนในกระบวนการท่องเที่ยว รวมทั้งการมีส่วนร่วม
ในการวางแผนพัฒนา หรือใช้ประชาชนมีตัวแทนเป็นคณะกรรมการร่วมในทุกระดับ
ั
5. จัดล าดับความส าคัญการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเป็นความจ าเป็นอนดับต้น ทั้งนี้องค์กรต่าง ๆ
ก าหนดบทบาทที่ชัดเจนในการส่งเสริม โดยมีการจัดสรรงบประมาณ บุคลากร และก าหนดวิธีการจัดการ
ที่เหมาะสม
6. น าแผนการพฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เข้าสู่แผนการพฒนาระดับต่าง ๆ อย่างมีความส าคัญ
ั
ั
ได้แก่ แผนพฒนาท้องถิ่น แผนพฒนาจังหวัด และแผนพฒนาภาค พร้อมทั้งให้มีการจัดสรรและกระจาย
ั
ั
ั
งบประมาณอย่างทั่วถึงและเพียงพอ
7. สนับสนุนการศึกษาวิจัยและประเมินผลการพฒนาอย่างรอบด้าน เพอก าหนดแนวทาง
ั
ื่
การจัดการ การแก้ไขปัญหา และการปรับปรุงแผนอย่างเป็นขั้นตอน
8. มีการใช้กฎหมายการควบคุม ดูแล รักษาสภาพแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวอย่างเคร่งครัด
โดยเน้นการแนะน า ตักเตือน และสร้างวินัยการท่องเที่ยวควบคู่ไปด้วย
9. จัดท าแนวทางปฏิบัติ หรือคู่มือการจัดการ (Z Code of Conduct) แก่ผู้เกี่ยวข้องเพอให้การ
ื่
มีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างถูกต้อง
10. สร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยให้มีการประสานงานด้านข้อมูลข่าวสาร และ
การจัดการรวมกันทุกระดับนโยบายด้านต่าง ๆ ในการจัดการเชิงนิเวศ
4.1.2 องค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
องค์ประกอบด้านพื้นที่ เป็นการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติเป็นหลัก ที่มีเอกลักษณ์
เฉพาะถิ่น (Identity or Authentic or Endemic or Unique) ทั้งนี้รวมถึงแหล่งวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์
เกี่ยวกับระบบนิเวศ (Eco-system) ในพนที่ของแหล่งนั้น จึงเป็นการท่องเที่ยวที่มีพนฐานอยู่กับธรรมชาติ
ื้
ื้
(Nature-based Tourism) และต้องเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ไม่ท าลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม