Page 77 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 77

ิ
                                                              บทที่ 4 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาต     66




                                                                         ั
                                                  ั
                             12) การกางเต็นท์นอนพกแรม การกางเต็นท์นอนพกแรมเป็นกิจกรรมที่นิยมท ากันในบริเวณ
                     อุทยานแห่งชาติ หรือในสถานที่ซึ่งจัดสิ่งอ านวยความสะดวกไว้ให้โดยเฉพาะ เป็นรูปแบบของการท่องเที่ยว
                     ซึ่งนักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับธรรมชาติอย่างใกล้ชิด

                             13) การด าน้ าในทะเล การด าน้ าในทะเลเพื่อดูปะการัง พืชน้ า และปลาสวยงามใต้น้ า เป็นกิจกรรม
                     การท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมอย่างมากในขณะนี้ แบ่งออกเป็น 2 อย่าง คือ “การด าน้ าในน้ าตื้น”
                                                                         ื่
                     ใช้เครื่องมือช่วยการหายใจที่เรียกว่า ท่อหายใจ (Snorkel) เพอให้ผู้ด าน้ าสามารถด าน้ าได้ในระดับผิวน้ า
                     ที่ลึกไม่เกินความยาวของท่อหายใจ และ “การด าน้ าในน้ าลึก” อาศัยเครื่องมือช่วยการหายใจเป็น
                     ถังออกซิเจน

                             14) การท่องเที่ยวเชิงธรณีวิทยา (Geo-Tourism) หมายถึง การท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติที่เป็น
                     หินผา ลานหินทราย อุโมงค์โพรง ถ้ าน้ าลอด ถ้ าหินงอก หินย้อย เพื่อดูความงามของภูมิทัศน์ที่มีความแปลก
                                             ื้
                     ของการเปลี่ยนแปลงของพนที่โลก ศึกษาธรรมชาติของหิน ดิน แร่ต่าง ๆ และฟอสซิล ได้ความรู้ ได้มี
                                          ื้
                     ประสบการณ์ใหม่ บนพนฐานการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ มีจิตส านึกต่อการรักษาสภาพแวดล้อม
                     โดยประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมต่อการจัดการการท่องเที่ยว
                             15) การท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์ (Astrological Tourism) หมายถึง การเดินทางท่องเที่ยว
                     เพอการไปชมปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวาระ เช่น สุริยุปราคา ฝนดาวตก
                        ื่
                                                                                  ื่
                     จันทรุปราคา และการดูดาวจักราศีที่ปรากฏในท้องฟาแต่ละเดือน เพอการเรียนรู้ระบบสุริยจักรวาล
                                                                    ้
                     มีความรู้ ความประทับใจ ความทรงจ า และประสบการณ์เพิ่มขึ้นบนพื้นฐาน

                     4.2 การท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism)
                             สถานการณ์ในปัจจุบันมีปัจจัยส าคัญหลายประการที่เป็นแรงผลักดัน และแรงดึงดูดให้ประเทศไทย
                     ต้องให้ความส าคัญกับการท่องเที่ยวสีเขียว ในส่วนของปัจจัยผลักดันเป็นผลมาจากการเติบโตอย่างรวดเร็ว

                     ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ซึ่งเติบโตเร็วกว่าความสามารถในการกระจายนักท่องเที่ยวที่เพมมากขึ้นไปสู่
                                                                                                  ิ่
                     พนที่ท่องเที่ยวใหม่ หรือแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถรองรับได้ ส่งผลให้เกิดความแออด รวมถึงความเสื่อมโทรม
                       ื้
                                                                                        ั
                     ของธรรมชาติและทรัพยากรท่องเที่ยว การเปลี่ยนผ่านโครงสร้างของนักท่องเที่ยว ไปสู่นักท่องเที่ยวจาก
                     ประเทศเศรษฐกิจใหม่ เช่น จีน อนเดีย และรัสเซีย เป็นต้น (เนื่องจากนักท่องเที่ยวจากประเทศเหล่านี้
                                                  ิ
                                                           ื่
                        ั
                     มีอตราการเติบโตสูงกว่านักท่องเที่ยวกลุ่มอน ๆ นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติจากสภาวะ
                                                 ิ
                     โลกร้อนที่รุนแรงเพมขึ้นจากมลพษ และความผันผวนของสภาพภูมิอากาศ ส่งผลให้ประเทศต่าง ๆ และ
                                      ิ่
                     ประชาคมโลกต่างให้ความส าคัญต่อการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ
                                                                                                  ุ
                             อย่างไรก็ดี นอกจากปัจจัยผลักดันข้างต้นแล้ว สภาพแวดล้อมชุดใหม่ของอตสาหกรรม
                     การท่องเที่ยวในอนาคตของประเทศไทย นับเป็นแรงดึงดูดที่ส าคัญต่อการพฒนาเข้าสู่การท่องเที่ยวสีเขียว
                                                                                    ั
                     ทั้งการที่ประเทศไทยก าหนดต าแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ เป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพส าหรับนักท่องเที่ยว
                     คุณภาพสูง ส่งผลให้ประเทศไทยมีความจ าเป็นในการยกระดับความใส่ใจ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
                     ในภาคการท่องเที่ยวมากขึ้น นอกจากนี้ การที่นักท่องเที่ยวกลุ่มใหม่ที่มีรายได้สูงขึ้น และธุรกิจทัวร์

                     จากประเทศที่พฒนาแล้วต่างให้ความส าคัญต่อผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และมาตรฐานการจัดการ
                                    ั
                     สิ่งแวดล้อมในภาคการท่องเที่ยวของประเทศจุดหมายปลายทางมากขึ้น นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้เองยังสามารถ
                     เข้าถึงข้อมูลทั้งในด้านลบและด้านบวกของการจัดการสิ่งแวดล้อมแหล่งท่องเที่ยวปลายทางได้จากเครือข่าย

                     อนเทอร์เน็ต และเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในส่วนของภาคชุมชนนั้น ก็มีความตื่นตัวและใส่ใจต่อผลกระทบ
                       ิ
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82